Suggest Keywords
คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่
https://www.ttbbank.com/
การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสำคัญต่อความต่อเนื่องทางธุรกิจและการเติบโตขององค์กร ธนาคารจึงมุ่งสร้างให้บุคลากรของเราพร้อมที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง อีกทั้งได้กำหนดนโยบายพร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการ Human Resources and Remuneration Committee ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ทบทวนและนำเสนอทิศทางกลยุทธ์ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งรวมถึงการสรรหาพนักงาน ผลตอบแทนและผลประโยชน์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการจ้างงาน แรงงานสัมพันธ์และสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
ธนาคารกำหนดกลยุทธ์การฝึกอบรมที่เน้นการเสริมสร้างภาวะความเป็นผู้นำให้แก่พนักงานทุกคน อันจะส่งผลให้พนักงานมีความพร้อมที่จะผลักดันให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ โดยที่การฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรจะมีเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับทักษะของพนักงานในแต่ละกลุ่มและสอดคล้องกับบริบทของงานและบทบาทของพนักงานในอนาคต ธนาคารวัดมูลค่าของพนักงานในองค์กร ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา (2561-2664) โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.0, 4.0, 2.7, และ 3.3 ตามลำดับ
ธนาคารมุ่งสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นในภาคธนาคารพาณิชย์ของประเทศ และเชื่อว่าการเสริมสร้างพนักงานให้มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะท้าทายและปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นอยู่ จะส่งผลให้ธนาคารสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ในปี 2561– 2563 ธนาคารมีแผนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้และพัฒนาพนักงาน ซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการพัฒนาและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในด้านต่างๆ ต่อไปนี้:
ธนาคารออกแบบแผนการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทั้งในด้านความสามารถหลักและภาวะความเป็นผู้นำ โดยกำหนดหัวข้อและเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้เหมาะสมกับพนักงานและผู้บริหารแต่ละระดับ ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์พฤติกรรมหลักและทักษะที่จำเป็นสำหรับพนักงานที่มีระดับความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน
ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์และพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรฝึกอบรม เช่น พฤติกรรมที่คาดหวัง ทักษะที่จำเป็นและระดับความเชี่ยวชาญ โดยจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และ Community of Practices นอกจากนี้ ธนาคารได้กำหนดแผนการฝึกอบรมสำหรับพนักงานทั่วทั้งองค์กรเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ที่ยั่งยืน และสนับสนุนให้พนักงานพัฒนาขีดความสามารถที่จำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐาน
ธนาคารมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพภาวะการเป็นผู้นำของพนักงานทุกระดับ และได้ดำเนินโครงการพัฒนาภาวะผู้นำที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้พนักงานสามารถรับมือกับความท้าทายต่างๆ โครงการเหล่านี้จะช่วยพัฒนาแนวคิด ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือที่จำเป็น โครงการฝึกอบรม “First Line Manager” และ “Manager of Manager” ที่ต้องการสร้างความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้นำในสายงาน โดยหลักสูตรดังกล่าวจะให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด ทักษะและเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการเป็นหัวหน้างานที่ดี สำหรับการพัฒนาผู้นำระดับอาวุโสและผู้บริหารระดับสูง และเน้นการเปิดมุมมองและความเข้าใจที่มีต่อความท้าทายสำคัญทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างฉับไวในธุรกิจธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารได้ดำเนินโครงการ “Food For Thought” เพื่อเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันความรู้และความเชี่ยวชาญร่วมกัน ซึ่งรวมถึงการเสวนาที่สร้างแรงบันดาลใจและสัมมนาเชิงปฏิบัติการที่นำโดยบุคลากรระดับมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียง
ในปี 2561 ธนาคารได้สร้างเวทีเพื่อการเรียนรู้ขึ้นใหม่ สำหรับให้พนักงานได้เรียนรู้ออนไลน์ และยังสามารถสร้างกลุ่มอภิปรายสำหรับแบ่งปันความรู้ร่วมกันที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก นอกเหนือจากการออกแบบแพลตฟอร์มใหม่เพื่อสนับสนุนแนวคิดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลาแล้ว ธนาคารยังได้เพิ่มเติมเนื้อหาใน e-learning โดยบรรจุหัวข้อการเรียนรู้มากกว่า 400 รายการ เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกโปรแกรมที่ตรงกับความต้องการ
ธนาคารได้จัดโปรแกรมฝึกอบรม Functional Training โดยผสานช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งรวมถึงการอบรมในห้องเรียน e-learning และ Community of Practices เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่างโปรแกรมฝึกอบรม ได้แก่ การวิเคราะห์สินเชื่อ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของธนาคาร กฎระเบียบที่สำคัญและระบบการเงินการธนาคาร
ธนาคารได้นำหลักการ Six Sigma และ Lean Concept มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กร เพื่อบริหารทรัพยากรของธนาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในด้านต้นทุนและคุณภาพ โดยได้จัดฝึกอบรมให้แก่พนักงานทุกระดับ เพื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในแนวคิดดังกล่าว
ธนาคารให้ความสำคัญด้านการบริหารความเสี่ยงและการสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัย โดยตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อลูกค้าและชื่อเสียงขององค์กร ธนาคารจึงได้จัดโปรแกรมฝึกอบรมด้านการบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยหลายหลักสูตร เช่น การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการองค์กร (Corporate Operational Risk Management) การป้องกันการฟอกเงิน (Anti-Money Laundering) การส่งเสริมความตระหนักด้านความเสี่ยงประจำปี 2561 (Promoting risk Awareness 2018) ภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threats) แก่พนักงานผ่านช่องทางออนไลน์ที่พนักงานทั่วประเทศสามารถเข้าถึงได้
ในปี 2561 ธนาคารจัดโครงการ “Hackathon” ซึ่งอิงจากวิธีการทำงานที่แพร่หลายในวงการเทคโนโลยีสตาร์ทอัพมาปรับใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการทำงานเป็นทีมระหว่างพนักงานต่างสายงาน ที่จะส่งเสริมให้พนักงานนำเสนอความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์รวมทั้งบริการใหม่ๆ ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยจัดการแข่งขันระหว่างพนักงาน 9 ทีม ซึ่งแต่ละทีมเกิดจากการรวมตัวของพนักงานจาก 8 สายงาน เพื่อระดมความคิดและค้นหาวิธีการใหม่ๆ ในการทำงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด และที่สำคัญที่สุดคือเพื่อให้ธนาคารสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ที่เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในชีวิตประจำวันและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ธนาคารตระหนักดีว่าการมีส่วนร่วมของพนักงานเป็นปัจจัยสำคัญซึ่งบ่งชี้ความแข็งแกร่งขององค์กร ธนาคารจึงได้ดำเนินโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น โครงการ WorkHeart ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารภายในองค์กรแบบเปิดกว้าง ความคิดเห็นของพนักงานจะได้รับการพิจารณาเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงที่ดีขึ้นของพนักงานและธนาคารต่อไป นอกจากนี้ ธนาคารยังได้เปิดช่องทางสื่อสารอื่นๆ เช่น HR Minisite, HR on Call และ Yammer เพื่อกระตุ้นให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมที่ธนาคารจัดขึ้น
ธนาคารเคารพสิทธิแรงงานของพนักงานผู้ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและได้รับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์อันควร คณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากพนักงานทั้งหมด มีการประชุมร่วมกับสายงานทรัพยากรบุคคลในฐานะตัวแทนองค์กรทุก 6 เดือน เพื่อหารือเกี่ยวกับสิทธิของพนักงาน ผลประโยชน์และข้อกังวลต่างๆ โดยจะสรุปประเด็นสำคัญรายงานต่อคณะกรรมการจัดการเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป โดยมี 4 สหภาพแรงงาน ได้แก่ สหภาพแรงงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานพนักงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานกิจการธนาคารทหารไทย และสหภาพแรงงานธนาคารทีเอ็มบี ธนชาต โดยมีพนักงานเข้าร่วมสหภาพแรงงานคิดเป็นร้อยละ 20 ของพนักงาน
ธนาคารและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ควบคุมกำกับดูแลการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการกองทุน ฯ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายนายจ้างซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และกรรมการฝ่ายลูกจ้างซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกกองทุนเพื่อส่งเสริมให้พนักงานสะสมเงินออมตามอัตราส่วนที่ต้องการส่วนหนึ่ง และธนาคารส่งสมทบตามอัตราส่วนตามอายุงานของพนักงานส่วนหนึ่ง และมีรูปแบบการจัดการกองทุนแบบ Employee’s Choice โดยพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย และธนาคารสมทบเงินร้อยละ 5-10 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นเงินก้อนสุดท้ายในการยังชีพด้วยความมั่นคงหลังเกษียณอายุการทำงานของพนักงาน ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน 2566 ธนาคารมีพนักงาน จำนวน 14,377 คน โดยมีพนักงานที่เข้าร่วมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งสิ้น จำนวน 13,343 คน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93
ธนาคารกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพ (Workplace Safety and Physical Security Policy) ซึ่งระบุแนวทางบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพภายในธนาคาร นโยบายดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมทั้งพนักงาน ผู้ให้บริการ ผู้มาติดต่อและลูกค้าในทุกสถานที่ตั้งของธนาคาร
ธนาคารดำเนินการตรวจสอบด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การออกแบบสถานที่ การดูแล สภาพแวดล้อมและการจัดหาอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลรวมทั้งกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารยังใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยที่เกิดจากการปฏิบัติงานโดยจัดอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคน
การบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยอยู่ภายใต้การดูแลระหว่างแผนกความปลอดภัยและแผนกบริหารทรัพยากรบุคคลและพนักงานสัมพันธ์ ทั้งสองหน่วยงานร่วมกันส่งเสริมด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน อีกทั้งมีการกำหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัยและใช้ประกอบการพิจารณาการประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ธนาคารมีการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยเพื่อกำหนดมาตรการป้องกันผลกระทบที่เหมาะสม จัดทำแผนการดำเนินงานและเป้าหมายที่ชัดเจน ตลอดจนตรวจประเมินการดำเนินงานด้านความปลอดภัยโดยหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ถึงการบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ โดยจะมีการรายงานผลการดำเนินงานด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานแก่ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในสถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19
งานทุกประเภทจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ซึ่งพบว่ามีงาน 3 ลักษณะที่มีความเสี่ยงในระดับสูง ได้แก่ Call Center ซึ่งต้องสัมผัสกับเสียง ห้องเก็บเอกสารและงานพิมพ์เอกสารซึ่งต้องสัมผัสกับไฮโดรคาร์บอนและสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compounds) แม้ว่าธนาคารจะมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อควบคุมความเสี่ยงในพื้นที่ดังกล่าว แต่หากพบว่าพนักงานได้รับสารดังกล่าวเกินกว่าระดับมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด พนักงานจะได้รับการรักษาและตรวจติดตามอาการจนกว่าจะหายเป็นปกติ ตลอดจนดำเนินการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ดังกล่าวอีกด้วย
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพในสถานที่ทำงาน
เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน ธนาคารได้จัดสวัสดิการและกำหนดมาตรการดังต่อไปนี้:
ความมุ่งมั่นของธนาคารให้มีพนักงานที่มีความหลากหลายโดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกันแก่พนักงานทุกคนทุกระดับทั้งเพศหญิงและเพศชาย ธนาคารมีความตั้งใจส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศในกลุ่มพนักงานของเราโดยมีเป้าหมายที่จะรักษาสัดส่วนของผู้หญิงให้มีมากกว่าร้อยละ 40 ในตำแหน่งผู้บริหารของธนาคาร และในพนักงานทุกระดับ เหนือสิ่งอื่นใดธนาคารไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในที่ทำงานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นอายุ เพศ รสนิยมทางเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ประเทศต้นกำเนิด สัญชาติ ภูมิหลังทางวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมและภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม
คำแถลงการณ์เรื่องความหลากหลายและการมีส่วนร่วม
การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสำคัญต่อความต่อเนื่องทางธุรกิจและการเติบโตขององค์กร ธนาคารจึงมุ่งสร้างให้บุคลากรของเราพร้อมที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง อีกทั้งได้กำหนดนโยบายพร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการ Human Resources and Remuneration Committee ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ทบทวนและนำเสนอทิศทางกลยุทธ์ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งรวมถึงการสรรหาพนักงาน ผลตอบแทนและผลประโยชน์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการจ้างงาน แรงงานสัมพันธ์และสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
ธนาคารกำหนดกลยุทธ์การฝึกอบรมที่เน้นการเสริมสร้างภาวะความเป็นผู้นำให้แก่พนักงานทุกคน อันจะส่งผลให้พนักงานมีความพร้อมที่จะผลักดันให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ โดยที่การฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรจะมีเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับทักษะของพนักงานในแต่ละกลุ่มและสอดคล้องกับบริบทของงานและบทบาทของพนักงานในอนาคต ธนาคารวัดมูลค่าของพนักงานในองค์กร ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา (2561-2664) โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.0, 4.0, 2.7, และ 3.3 ตามลำดับ
ธนาคารมุ่งสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นในภาคธนาคารพาณิชย์ของประเทศ และเชื่อว่าการเสริมสร้างพนักงานให้มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะท้าทายและปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นอยู่ จะส่งผลให้ธนาคารสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ในปี 2561– 2563 ธนาคารมีแผนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้และพัฒนาพนักงาน ซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการพัฒนาและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในด้านต่างๆ ต่อไปนี้:
ธนาคารออกแบบแผนการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทั้งในด้านความสามารถหลักและภาวะความเป็นผู้นำ โดยกำหนดหัวข้อและเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้เหมาะสมกับพนักงานและผู้บริหารแต่ละระดับ ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์พฤติกรรมหลักและทักษะที่จำเป็นสำหรับพนักงานที่มีระดับความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน
ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์และพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรฝึกอบรม เช่น พฤติกรรมที่คาดหวัง ทักษะที่จำเป็นและระดับความเชี่ยวชาญ โดยจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และ Community of Practices นอกจากนี้ ธนาคารได้กำหนดแผนการฝึกอบรมสำหรับพนักงานทั่วทั้งองค์กรเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ที่ยั่งยืน และสนับสนุนให้พนักงานพัฒนาขีดความสามารถที่จำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐาน
ธนาคารมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพภาวะการเป็นผู้นำของพนักงานทุกระดับ และได้ดำเนินโครงการพัฒนาภาวะผู้นำที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้พนักงานสามารถรับมือกับความท้าทายต่างๆ โครงการเหล่านี้จะช่วยพัฒนาแนวคิด ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือที่จำเป็น โครงการฝึกอบรม “First Line Manager” และ “Manager of Manager” ที่ต้องการสร้างความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้นำในสายงาน โดยหลักสูตรดังกล่าวจะให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด ทักษะและเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการเป็นหัวหน้างานที่ดี สำหรับการพัฒนาผู้นำระดับอาวุโสและผู้บริหารระดับสูง และเน้นการเปิดมุมมองและความเข้าใจที่มีต่อความท้าทายสำคัญทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างฉับไวในธุรกิจธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารได้ดำเนินโครงการ “Food For Thought” เพื่อเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันความรู้และความเชี่ยวชาญร่วมกัน ซึ่งรวมถึงการเสวนาที่สร้างแรงบันดาลใจและสัมมนาเชิงปฏิบัติการที่นำโดยบุคลากรระดับมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียง
ในปี 2561 ธนาคารได้สร้างเวทีเพื่อการเรียนรู้ขึ้นใหม่ สำหรับให้พนักงานได้เรียนรู้ออนไลน์ และยังสามารถสร้างกลุ่มอภิปรายสำหรับแบ่งปันความรู้ร่วมกันที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก นอกเหนือจากการออกแบบแพลตฟอร์มใหม่เพื่อสนับสนุนแนวคิดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลาแล้ว ธนาคารยังได้เพิ่มเติมเนื้อหาใน e-learning โดยบรรจุหัวข้อการเรียนรู้มากกว่า 400 รายการ เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกโปรแกรมที่ตรงกับความต้องการ
ธนาคารได้จัดโปรแกรมฝึกอบรม Functional Training โดยผสานช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งรวมถึงการอบรมในห้องเรียน e-learning และ Community of Practices เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่างโปรแกรมฝึกอบรม ได้แก่ การวิเคราะห์สินเชื่อ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของธนาคาร กฎระเบียบที่สำคัญและระบบการเงินการธนาคาร
ธนาคารได้นำหลักการ Six Sigma และ Lean Concept มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กร เพื่อบริหารทรัพยากรของธนาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในด้านต้นทุนและคุณภาพ โดยได้จัดฝึกอบรมให้แก่พนักงานทุกระดับ เพื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในแนวคิดดังกล่าว
ธนาคารให้ความสำคัญด้านการบริหารความเสี่ยงและการสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัย โดยตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อลูกค้าและชื่อเสียงขององค์กร ธนาคารจึงได้จัดโปรแกรมฝึกอบรมด้านการบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยหลายหลักสูตร เช่น การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการองค์กร (Corporate Operational Risk Management) การป้องกันการฟอกเงิน (Anti-Money Laundering) การส่งเสริมความตระหนักด้านความเสี่ยงประจำปี 2561 (Promoting risk Awareness 2018) ภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threats) แก่พนักงานผ่านช่องทางออนไลน์ที่พนักงานทั่วประเทศสามารถเข้าถึงได้
ในปี 2561 ธนาคารจัดโครงการ “Hackathon” ซึ่งอิงจากวิธีการทำงานที่แพร่หลายในวงการเทคโนโลยีสตาร์ทอัพมาปรับใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการทำงานเป็นทีมระหว่างพนักงานต่างสายงาน ที่จะส่งเสริมให้พนักงานนำเสนอความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์รวมทั้งบริการใหม่ๆ ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยจัดการแข่งขันระหว่างพนักงาน 9 ทีม ซึ่งแต่ละทีมเกิดจากการรวมตัวของพนักงานจาก 8 สายงาน เพื่อระดมความคิดและค้นหาวิธีการใหม่ๆ ในการทำงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด และที่สำคัญที่สุดคือเพื่อให้ธนาคารสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ที่เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในชีวิตประจำวันและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ธนาคารตระหนักดีว่าการมีส่วนร่วมของพนักงานเป็นปัจจัยสำคัญซึ่งบ่งชี้ความแข็งแกร่งขององค์กร ธนาคารจึงได้ดำเนินโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น โครงการ WorkHeart ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารภายในองค์กรแบบเปิดกว้าง ความคิดเห็นของพนักงานจะได้รับการพิจารณาเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงที่ดีขึ้นของพนักงานและธนาคารต่อไป นอกจากนี้ ธนาคารยังได้เปิดช่องทางสื่อสารอื่นๆ เช่น HR Minisite, HR on Call และ Yammer เพื่อกระตุ้นให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมที่ธนาคารจัดขึ้น
ธนาคารเคารพสิทธิแรงงานของพนักงานผู้ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและได้รับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์อันควร คณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากพนักงานทั้งหมด มีการประชุมร่วมกับสายงานทรัพยากรบุคคลในฐานะตัวแทนองค์กรทุก 6 เดือน เพื่อหารือเกี่ยวกับสิทธิของพนักงาน ผลประโยชน์และข้อกังวลต่างๆ โดยจะสรุปประเด็นสำคัญรายงานต่อคณะกรรมการจัดการเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป โดยมี 4 สหภาพแรงงาน ได้แก่ สหภาพแรงงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานพนักงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานกิจการธนาคารทหารไทย และสหภาพแรงงานธนาคารทีเอ็มบี ธนชาต โดยมีพนักงานเข้าร่วมสหภาพแรงงานคิดเป็นร้อยละ 20 ของพนักงาน
ธนาคารและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ควบคุมกำกับดูแลการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการกองทุน ฯ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายนายจ้างซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และกรรมการฝ่ายลูกจ้างซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกกองทุนเพื่อส่งเสริมให้พนักงานสะสมเงินออมตามอัตราส่วนที่ต้องการส่วนหนึ่ง และธนาคารส่งสมทบตามอัตราส่วนตามอายุงานของพนักงานส่วนหนึ่ง และมีรูปแบบการจัดการกองทุนแบบ Employee’s Choice โดยพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย และธนาคารสมทบเงินร้อยละ 5-10 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นเงินก้อนสุดท้ายในการยังชีพด้วยความมั่นคงหลังเกษียณอายุการทำงานของพนักงาน ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน 2566 ธนาคารมีพนักงาน จำนวน 14,377 คน โดยมีพนักงานที่เข้าร่วมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งสิ้น จำนวน 13,343 คน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93
ธนาคารกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพ (Workplace Safety and Physical Security Policy) ซึ่งระบุแนวทางบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพภายในธนาคาร นโยบายดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมทั้งพนักงาน ผู้ให้บริการ ผู้มาติดต่อและลูกค้าในทุกสถานที่ตั้งของธนาคาร
ธนาคารดำเนินการตรวจสอบด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การออกแบบสถานที่ การดูแล สภาพแวดล้อมและการจัดหาอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลรวมทั้งกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารยังใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยที่เกิดจากการปฏิบัติงานโดยจัดอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคน
การบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยอยู่ภายใต้การดูแลระหว่างแผนกความปลอดภัยและแผนกบริหารทรัพยากรบุคคลและพนักงานสัมพันธ์ ทั้งสองหน่วยงานร่วมกันส่งเสริมด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน อีกทั้งมีการกำหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัยและใช้ประกอบการพิจารณาการประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ธนาคารมีการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยเพื่อกำหนดมาตรการป้องกันผลกระทบที่เหมาะสม จัดทำแผนการดำเนินงานและเป้าหมายที่ชัดเจน ตลอดจนตรวจประเมินการดำเนินงานด้านความปลอดภัยโดยหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ถึงการบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ โดยจะมีการรายงานผลการดำเนินงานด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานแก่ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในสถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19
งานทุกประเภทจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ซึ่งพบว่ามีงาน 3 ลักษณะที่มีความเสี่ยงในระดับสูง ได้แก่ Call Center ซึ่งต้องสัมผัสกับเสียง ห้องเก็บเอกสารและงานพิมพ์เอกสารซึ่งต้องสัมผัสกับไฮโดรคาร์บอนและสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compounds) แม้ว่าธนาคารจะมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อควบคุมความเสี่ยงในพื้นที่ดังกล่าว แต่หากพบว่าพนักงานได้รับสารดังกล่าวเกินกว่าระดับมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด พนักงานจะได้รับการรักษาและตรวจติดตามอาการจนกว่าจะหายเป็นปกติ ตลอดจนดำเนินการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ดังกล่าวอีกด้วย
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพในสถานที่ทำงาน
เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน ธนาคารได้จัดสวัสดิการและกำหนดมาตรการดังต่อไปนี้:
ความมุ่งมั่นของธนาคารให้มีพนักงานที่มีความหลากหลายโดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกันแก่พนักงานทุกคนทุกระดับทั้งเพศหญิงและเพศชาย ธนาคารมีความตั้งใจส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศในกลุ่มพนักงานของเราโดยมีเป้าหมายที่จะรักษาสัดส่วนของผู้หญิงให้มีมากกว่าร้อยละ 40 ในตำแหน่งผู้บริหารของธนาคาร และในพนักงานทุกระดับ เหนือสิ่งอื่นใดธนาคารไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในที่ทำงานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นอายุ เพศ รสนิยมทางเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ประเทศต้นกำเนิด สัญชาติ ภูมิหลังทางวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมและภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม
คำแถลงการณ์เรื่องความหลากหลายและการมีส่วนร่วม
การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสำคัญต่อความต่อเนื่องทางธุรกิจและการเติบโตขององค์กร ธนาคารจึงมุ่งสร้างให้บุคลากรของเราพร้อมที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง อีกทั้งได้กำหนดนโยบายพร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการ Human Resources and Remuneration Committee ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ทบทวนและนำเสนอทิศทางกลยุทธ์ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งรวมถึงการสรรหาพนักงาน ผลตอบแทนและผลประโยชน์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการจ้างงาน แรงงานสัมพันธ์และสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
ธนาคารกำหนดกลยุทธ์การฝึกอบรมที่เน้นการเสริมสร้างภาวะความเป็นผู้นำให้แก่พนักงานทุกคน อันจะส่งผลให้พนักงานมีความพร้อมที่จะผลักดันให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ โดยที่การฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรจะมีเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับทักษะของพนักงานในแต่ละกลุ่มและสอดคล้องกับบริบทของงานและบทบาทของพนักงานในอนาคต ธนาคารวัดมูลค่าของพนักงานในองค์กร ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา (2561-2664) โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.0, 4.0, 2.7, และ 3.3 ตามลำดับ
ธนาคารมุ่งสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นในภาคธนาคารพาณิชย์ของประเทศ และเชื่อว่าการเสริมสร้างพนักงานให้มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะท้าทายและปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นอยู่ จะส่งผลให้ธนาคารสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ในปี 2561– 2563 ธนาคารมีแผนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้และพัฒนาพนักงาน ซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการพัฒนาและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในด้านต่างๆ ต่อไปนี้:
ธนาคารออกแบบแผนการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทั้งในด้านความสามารถหลักและภาวะความเป็นผู้นำ โดยกำหนดหัวข้อและเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้เหมาะสมกับพนักงานและผู้บริหารแต่ละระดับ ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์พฤติกรรมหลักและทักษะที่จำเป็นสำหรับพนักงานที่มีระดับความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน
ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์และพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรฝึกอบรม เช่น พฤติกรรมที่คาดหวัง ทักษะที่จำเป็นและระดับความเชี่ยวชาญ โดยจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และ Community of Practices นอกจากนี้ ธนาคารได้กำหนดแผนการฝึกอบรมสำหรับพนักงานทั่วทั้งองค์กรเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ที่ยั่งยืน และสนับสนุนให้พนักงานพัฒนาขีดความสามารถที่จำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐาน
ธนาคารมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพภาวะการเป็นผู้นำของพนักงานทุกระดับ และได้ดำเนินโครงการพัฒนาภาวะผู้นำที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้พนักงานสามารถรับมือกับความท้าทายต่างๆ โครงการเหล่านี้จะช่วยพัฒนาแนวคิด ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือที่จำเป็น โครงการฝึกอบรม “First Line Manager” และ “Manager of Manager” ที่ต้องการสร้างความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้นำในสายงาน โดยหลักสูตรดังกล่าวจะให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด ทักษะและเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการเป็นหัวหน้างานที่ดี สำหรับการพัฒนาผู้นำระดับอาวุโสและผู้บริหารระดับสูง และเน้นการเปิดมุมมองและความเข้าใจที่มีต่อความท้าทายสำคัญทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างฉับไวในธุรกิจธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารได้ดำเนินโครงการ “Food For Thought” เพื่อเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันความรู้และความเชี่ยวชาญร่วมกัน ซึ่งรวมถึงการเสวนาที่สร้างแรงบันดาลใจและสัมมนาเชิงปฏิบัติการที่นำโดยบุคลากรระดับมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียง
ในปี 2561 ธนาคารได้สร้างเวทีเพื่อการเรียนรู้ขึ้นใหม่ สำหรับให้พนักงานได้เรียนรู้ออนไลน์ และยังสามารถสร้างกลุ่มอภิปรายสำหรับแบ่งปันความรู้ร่วมกันที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก นอกเหนือจากการออกแบบแพลตฟอร์มใหม่เพื่อสนับสนุนแนวคิดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลาแล้ว ธนาคารยังได้เพิ่มเติมเนื้อหาใน e-learning โดยบรรจุหัวข้อการเรียนรู้มากกว่า 400 รายการ เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกโปรแกรมที่ตรงกับความต้องการ
ธนาคารได้จัดโปรแกรมฝึกอบรม Functional Training โดยผสานช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งรวมถึงการอบรมในห้องเรียน e-learning และ Community of Practices เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่างโปรแกรมฝึกอบรม ได้แก่ การวิเคราะห์สินเชื่อ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของธนาคาร กฎระเบียบที่สำคัญและระบบการเงินการธนาคาร
ธนาคารได้นำหลักการ Six Sigma และ Lean Concept มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กร เพื่อบริหารทรัพยากรของธนาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในด้านต้นทุนและคุณภาพ โดยได้จัดฝึกอบรมให้แก่พนักงานทุกระดับ เพื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในแนวคิดดังกล่าว
ธนาคารให้ความสำคัญด้านการบริหารความเสี่ยงและการสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัย โดยตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อลูกค้าและชื่อเสียงขององค์กร ธนาคารจึงได้จัดโปรแกรมฝึกอบรมด้านการบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยหลายหลักสูตร เช่น การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการองค์กร (Corporate Operational Risk Management) การป้องกันการฟอกเงิน (Anti-Money Laundering) การส่งเสริมความตระหนักด้านความเสี่ยงประจำปี 2561 (Promoting risk Awareness 2018) ภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threats) แก่พนักงานผ่านช่องทางออนไลน์ที่พนักงานทั่วประเทศสามารถเข้าถึงได้
ในปี 2561 ธนาคารจัดโครงการ “Hackathon” ซึ่งอิงจากวิธีการทำงานที่แพร่หลายในวงการเทคโนโลยีสตาร์ทอัพมาปรับใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการทำงานเป็นทีมระหว่างพนักงานต่างสายงาน ที่จะส่งเสริมให้พนักงานนำเสนอความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์รวมทั้งบริการใหม่ๆ ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยจัดการแข่งขันระหว่างพนักงาน 9 ทีม ซึ่งแต่ละทีมเกิดจากการรวมตัวของพนักงานจาก 8 สายงาน เพื่อระดมความคิดและค้นหาวิธีการใหม่ๆ ในการทำงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด และที่สำคัญที่สุดคือเพื่อให้ธนาคารสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ที่เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในชีวิตประจำวันและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ธนาคารตระหนักดีว่าการมีส่วนร่วมของพนักงานเป็นปัจจัยสำคัญซึ่งบ่งชี้ความแข็งแกร่งขององค์กร ธนาคารจึงได้ดำเนินโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น โครงการ WorkHeart ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารภายในองค์กรแบบเปิดกว้าง ความคิดเห็นของพนักงานจะได้รับการพิจารณาเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงที่ดีขึ้นของพนักงานและธนาคารต่อไป นอกจากนี้ ธนาคารยังได้เปิดช่องทางสื่อสารอื่นๆ เช่น HR Minisite, HR on Call และ Yammer เพื่อกระตุ้นให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมที่ธนาคารจัดขึ้น
ธนาคารเคารพสิทธิแรงงานของพนักงานผู้ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและได้รับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์อันควร คณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากพนักงานทั้งหมด มีการประชุมร่วมกับสายงานทรัพยากรบุคคลในฐานะตัวแทนองค์กรทุก 6 เดือน เพื่อหารือเกี่ยวกับสิทธิของพนักงาน ผลประโยชน์และข้อกังวลต่างๆ โดยจะสรุปประเด็นสำคัญรายงานต่อคณะกรรมการจัดการเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป โดยมี 4 สหภาพแรงงาน ได้แก่ สหภาพแรงงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานพนักงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานกิจการธนาคารทหารไทย และสหภาพแรงงานธนาคารทีเอ็มบี ธนชาต โดยมีพนักงานเข้าร่วมสหภาพแรงงานคิดเป็นร้อยละ 20 ของพนักงาน
ธนาคารและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ควบคุมกำกับดูแลการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการกองทุน ฯ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายนายจ้างซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และกรรมการฝ่ายลูกจ้างซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกกองทุนเพื่อส่งเสริมให้พนักงานสะสมเงินออมตามอัตราส่วนที่ต้องการส่วนหนึ่ง และธนาคารส่งสมทบตามอัตราส่วนตามอายุงานของพนักงานส่วนหนึ่ง และมีรูปแบบการจัดการกองทุนแบบ Employee’s Choice โดยพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย และธนาคารสมทบเงินร้อยละ 5-10 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นเงินก้อนสุดท้ายในการยังชีพด้วยความมั่นคงหลังเกษียณอายุการทำงานของพนักงาน ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน 2566 ธนาคารมีพนักงาน จำนวน 14,377 คน โดยมีพนักงานที่เข้าร่วมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งสิ้น จำนวน 13,343 คน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93
ธนาคารกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพ (Workplace Safety and Physical Security Policy) ซึ่งระบุแนวทางบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพภายในธนาคาร นโยบายดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมทั้งพนักงาน ผู้ให้บริการ ผู้มาติดต่อและลูกค้าในทุกสถานที่ตั้งของธนาคาร
ธนาคารดำเนินการตรวจสอบด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การออกแบบสถานที่ การดูแล สภาพแวดล้อมและการจัดหาอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลรวมทั้งกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารยังใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยที่เกิดจากการปฏิบัติงานโดยจัดอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคน
การบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยอยู่ภายใต้การดูแลระหว่างแผนกความปลอดภัยและแผนกบริหารทรัพยากรบุคคลและพนักงานสัมพันธ์ ทั้งสองหน่วยงานร่วมกันส่งเสริมด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน อีกทั้งมีการกำหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัยและใช้ประกอบการพิจารณาการประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ธนาคารมีการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยเพื่อกำหนดมาตรการป้องกันผลกระทบที่เหมาะสม จัดทำแผนการดำเนินงานและเป้าหมายที่ชัดเจน ตลอดจนตรวจประเมินการดำเนินงานด้านความปลอดภัยโดยหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ถึงการบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ โดยจะมีการรายงานผลการดำเนินงานด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานแก่ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในสถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19
งานทุกประเภทจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ซึ่งพบว่ามีงาน 3 ลักษณะที่มีความเสี่ยงในระดับสูง ได้แก่ Call Center ซึ่งต้องสัมผัสกับเสียง ห้องเก็บเอกสารและงานพิมพ์เอกสารซึ่งต้องสัมผัสกับไฮโดรคาร์บอนและสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compounds) แม้ว่าธนาคารจะมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อควบคุมความเสี่ยงในพื้นที่ดังกล่าว แต่หากพบว่าพนักงานได้รับสารดังกล่าวเกินกว่าระดับมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด พนักงานจะได้รับการรักษาและตรวจติดตามอาการจนกว่าจะหายเป็นปกติ ตลอดจนดำเนินการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ดังกล่าวอีกด้วย
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพในสถานที่ทำงาน
เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน ธนาคารได้จัดสวัสดิการและกำหนดมาตรการดังต่อไปนี้:
ความมุ่งมั่นของธนาคารให้มีพนักงานที่มีความหลากหลายโดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกันแก่พนักงานทุกคนทุกระดับทั้งเพศหญิงและเพศชาย ธนาคารมีความตั้งใจส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศในกลุ่มพนักงานของเราโดยมีเป้าหมายที่จะรักษาสัดส่วนของผู้หญิงให้มีมากกว่าร้อยละ 40 ในตำแหน่งผู้บริหารของธนาคาร และในพนักงานทุกระดับ เหนือสิ่งอื่นใดธนาคารไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในที่ทำงานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นอายุ เพศ รสนิยมทางเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ประเทศต้นกำเนิด สัญชาติ ภูมิหลังทางวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมและภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม
คำแถลงการณ์เรื่องความหลากหลายและการมีส่วนร่วม
การบริหารทรัพยากรบุคคลมีความสำคัญต่อความต่อเนื่องทางธุรกิจและการเติบโตขององค์กร ธนาคารจึงมุ่งสร้างให้บุคลากรของเราพร้อมที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง อีกทั้งได้กำหนดนโยบายพร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการ Human Resources and Remuneration Committee ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ทบทวนและนำเสนอทิศทางกลยุทธ์ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งรวมถึงการสรรหาพนักงาน ผลตอบแทนและผลประโยชน์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับการจ้างงาน แรงงานสัมพันธ์และสิทธิมนุษยชน เป็นต้น
ธนาคารกำหนดกลยุทธ์การฝึกอบรมที่เน้นการเสริมสร้างภาวะความเป็นผู้นำให้แก่พนักงานทุกคน อันจะส่งผลให้พนักงานมีความพร้อมที่จะผลักดันให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ โดยที่การฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรจะมีเนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับทักษะของพนักงานในแต่ละกลุ่มและสอดคล้องกับบริบทของงานและบทบาทของพนักงานในอนาคต ธนาคารวัดมูลค่าของพนักงานในองค์กร ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา (2561-2664) โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.0, 4.0, 2.7, และ 3.3 ตามลำดับ
ธนาคารมุ่งสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นในภาคธนาคารพาณิชย์ของประเทศ และเชื่อว่าการเสริมสร้างพนักงานให้มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะท้าทายและปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นอยู่ จะส่งผลให้ธนาคารสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีที่สุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
ในปี 2561– 2563 ธนาคารมีแผนปรับเปลี่ยนการเรียนรู้และพัฒนาพนักงาน ซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการพัฒนาและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในด้านต่างๆ ต่อไปนี้:
ธนาคารออกแบบแผนการพัฒนาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทั้งในด้านความสามารถหลักและภาวะความเป็นผู้นำ โดยกำหนดหัวข้อและเนื้อหาสาระของหลักสูตรให้เหมาะสมกับพนักงานและผู้บริหารแต่ละระดับ ซึ่งเป็นผลจากการวิเคราะห์พฤติกรรมหลักและทักษะที่จำเป็นสำหรับพนักงานที่มีระดับความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน
ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์และพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรฝึกอบรม เช่น พฤติกรรมที่คาดหวัง ทักษะที่จำเป็นและระดับความเชี่ยวชาญ โดยจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ และ Community of Practices นอกจากนี้ ธนาคารได้กำหนดแผนการฝึกอบรมสำหรับพนักงานทั่วทั้งองค์กรเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ที่ยั่งยืน และสนับสนุนให้พนักงานพัฒนาขีดความสามารถที่จำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐาน
ธนาคารมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพภาวะการเป็นผู้นำของพนักงานทุกระดับ และได้ดำเนินโครงการพัฒนาภาวะผู้นำที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ เพื่อให้พนักงานสามารถรับมือกับความท้าทายต่างๆ โครงการเหล่านี้จะช่วยพัฒนาแนวคิด ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือที่จำเป็น โครงการฝึกอบรม “First Line Manager” และ “Manager of Manager” ที่ต้องการสร้างความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้นำในสายงาน โดยหลักสูตรดังกล่าวจะให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด ทักษะและเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการเป็นหัวหน้างานที่ดี สำหรับการพัฒนาผู้นำระดับอาวุโสและผู้บริหารระดับสูง และเน้นการเปิดมุมมองและความเข้าใจที่มีต่อความท้าทายสำคัญทางธุรกิจ เพื่อให้สามารถพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างฉับไวในธุรกิจธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารได้ดำเนินโครงการ “Food For Thought” เพื่อเปิดโอกาสการเรียนรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันความรู้และความเชี่ยวชาญร่วมกัน ซึ่งรวมถึงการเสวนาที่สร้างแรงบันดาลใจและสัมมนาเชิงปฏิบัติการที่นำโดยบุคลากรระดับมืออาชีพและผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียง
ในปี 2561 ธนาคารได้สร้างเวทีเพื่อการเรียนรู้ขึ้นใหม่ สำหรับให้พนักงานได้เรียนรู้ออนไลน์ และยังสามารถสร้างกลุ่มอภิปรายสำหรับแบ่งปันความรู้ร่วมกันที่เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก นอกเหนือจากการออกแบบแพลตฟอร์มใหม่เพื่อสนับสนุนแนวคิดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลาแล้ว ธนาคารยังได้เพิ่มเติมเนื้อหาใน e-learning โดยบรรจุหัวข้อการเรียนรู้มากกว่า 400 รายการ เพื่อให้พนักงานสามารถเลือกโปรแกรมที่ตรงกับความต้องการ
ธนาคารได้จัดโปรแกรมฝึกอบรม Functional Training โดยผสานช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งรวมถึงการอบรมในห้องเรียน e-learning และ Community of Practices เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอย่างโปรแกรมฝึกอบรม ได้แก่ การวิเคราะห์สินเชื่อ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของธนาคาร กฎระเบียบที่สำคัญและระบบการเงินการธนาคาร
ธนาคารได้นำหลักการ Six Sigma และ Lean Concept มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กร เพื่อบริหารทรัพยากรของธนาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งในด้านต้นทุนและคุณภาพ โดยได้จัดฝึกอบรมให้แก่พนักงานทุกระดับ เพื่อสร้างความตระหนักและความเข้าใจในแนวคิดดังกล่าว
ธนาคารให้ความสำคัญด้านการบริหารความเสี่ยงและการสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัย โดยตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อลูกค้าและชื่อเสียงขององค์กร ธนาคารจึงได้จัดโปรแกรมฝึกอบรมด้านการบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยหลายหลักสูตร เช่น การบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการองค์กร (Corporate Operational Risk Management) การป้องกันการฟอกเงิน (Anti-Money Laundering) การส่งเสริมความตระหนักด้านความเสี่ยงประจำปี 2561 (Promoting risk Awareness 2018) ภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Threats) แก่พนักงานผ่านช่องทางออนไลน์ที่พนักงานทั่วประเทศสามารถเข้าถึงได้
ในปี 2561 ธนาคารจัดโครงการ “Hackathon” ซึ่งอิงจากวิธีการทำงานที่แพร่หลายในวงการเทคโนโลยีสตาร์ทอัพมาปรับใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการทำงานเป็นทีมระหว่างพนักงานต่างสายงาน ที่จะส่งเสริมให้พนักงานนำเสนอความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์รวมทั้งบริการใหม่ๆ ได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า โดยจัดการแข่งขันระหว่างพนักงาน 9 ทีม ซึ่งแต่ละทีมเกิดจากการรวมตัวของพนักงานจาก 8 สายงาน เพื่อระดมความคิดและค้นหาวิธีการใหม่ๆ ในการทำงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด และที่สำคัญที่สุดคือเพื่อให้ธนาคารสามารถนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ที่เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในชีวิตประจำวันและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด
ธนาคารตระหนักดีว่าการมีส่วนร่วมของพนักงานเป็นปัจจัยสำคัญซึ่งบ่งชี้ความแข็งแกร่งขององค์กร ธนาคารจึงได้ดำเนินโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้พนักงานเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เช่น โครงการ WorkHeart ซึ่งสนับสนุนการสื่อสารภายในองค์กรแบบเปิดกว้าง ความคิดเห็นของพนักงานจะได้รับการพิจารณาเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงที่ดีขึ้นของพนักงานและธนาคารต่อไป นอกจากนี้ ธนาคารยังได้เปิดช่องทางสื่อสารอื่นๆ เช่น HR Minisite, HR on Call และ Yammer เพื่อกระตุ้นให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมที่ธนาคารจัดขึ้น
ธนาคารเคารพสิทธิแรงงานของพนักงานผู้ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและได้รับการคุ้มครองสิทธิประโยชน์อันควร คณะกรรมการสวัสดิการ (Welfare Committee) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากพนักงานทั้งหมด มีการประชุมร่วมกับสายงานทรัพยากรบุคคลในฐานะตัวแทนองค์กรทุก 6 เดือน เพื่อหารือเกี่ยวกับสิทธิของพนักงาน ผลประโยชน์และข้อกังวลต่างๆ โดยจะสรุปประเด็นสำคัญรายงานต่อคณะกรรมการจัดการเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไป โดยมี 4 สหภาพแรงงาน ได้แก่ สหภาพแรงงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานพนักงานธนาคารทหารไทย สหภาพแรงงานกิจการธนาคารทหารไทย และสหภาพแรงงานธนาคารทีเอ็มบี ธนชาต โดยมีพนักงานเข้าร่วมสหภาพแรงงานคิดเป็นร้อยละ 20 ของพนักงาน
ธนาคารและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ควบคุมกำกับดูแลการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการกองทุน ฯ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายนายจ้างซึ่งมาจากการแต่งตั้ง และกรรมการฝ่ายลูกจ้างซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกกองทุนเพื่อส่งเสริมให้พนักงานสะสมเงินออมตามอัตราส่วนที่ต้องการส่วนหนึ่ง และธนาคารส่งสมทบตามอัตราส่วนตามอายุงานของพนักงานส่วนหนึ่ง และมีรูปแบบการจัดการกองทุนแบบ Employee’s Choice โดยพนักงานสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนได้ในอัตราร้อยละ 2-15 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละราย และธนาคารสมทบเงินร้อยละ 5-10 ของเงินเดือนของพนักงานเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเป็นเงินก้อนสุดท้ายในการยังชีพด้วยความมั่นคงหลังเกษียณอายุการทำงานของพนักงาน ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน 2566 ธนาคารมีพนักงาน จำนวน 14,377 คน โดยมีพนักงานที่เข้าร่วมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งสิ้น จำนวน 13,343 คน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 93
ธนาคารกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพ (Workplace Safety and Physical Security Policy) ซึ่งระบุแนวทางบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมในสถานที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยทางกายภาพภายในธนาคาร นโยบายดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมทั้งพนักงาน ผู้ให้บริการ ผู้มาติดต่อและลูกค้าในทุกสถานที่ตั้งของธนาคาร
ธนาคารดำเนินการตรวจสอบด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่การออกแบบสถานที่ การดูแล สภาพแวดล้อมและการจัดหาอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ในการปฏิบัติงานเพื่อให้มั่นใจว่าธนาคารมีสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลรวมทั้งกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ธนาคารยังใช้มาตรการเชิงรุกเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยที่เกิดจากการปฏิบัติงานโดยจัดอบรมด้านสุขภาพและความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคน
การบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยอยู่ภายใต้การดูแลระหว่างแผนกความปลอดภัยและแผนกบริหารทรัพยากรบุคคลและพนักงานสัมพันธ์ ทั้งสองหน่วยงานร่วมกันส่งเสริมด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน อีกทั้งมีการกำหนดเป้าหมายด้านความปลอดภัยและใช้ประกอบการพิจารณาการประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ธนาคารมีการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัยเพื่อกำหนดมาตรการป้องกันผลกระทบที่เหมาะสม จัดทำแผนการดำเนินงานและเป้าหมายที่ชัดเจน ตลอดจนตรวจประเมินการดำเนินงานด้านความปลอดภัยโดยหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ถึงการบริหารจัดการด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ โดยจะมีการรายงานผลการดำเนินงานด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานแก่ผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในสถานการณ์แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19
งานทุกประเภทจะมีการวิเคราะห์เกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย ซึ่งพบว่ามีงาน 3 ลักษณะที่มีความเสี่ยงในระดับสูง ได้แก่ Call Center ซึ่งต้องสัมผัสกับเสียง ห้องเก็บเอกสารและงานพิมพ์เอกสารซึ่งต้องสัมผัสกับไฮโดรคาร์บอนและสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compounds) แม้ว่าธนาคารจะมีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อควบคุมความเสี่ยงในพื้นที่ดังกล่าว แต่หากพบว่าพนักงานได้รับสารดังกล่าวเกินกว่าระดับมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด พนักงานจะได้รับการรักษาและตรวจติดตามอาการจนกว่าจะหายเป็นปกติ ตลอดจนดำเนินการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ดังกล่าวอีกด้วย
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพในสถานที่ทำงาน
เพื่อส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน ธนาคารได้จัดสวัสดิการและกำหนดมาตรการดังต่อไปนี้:
ความมุ่งมั่นของธนาคารให้มีพนักงานที่มีความหลากหลายโดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกันแก่พนักงานทุกคนทุกระดับทั้งเพศหญิงและเพศชาย ธนาคารมีความตั้งใจส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศในกลุ่มพนักงานของเราโดยมีเป้าหมายที่จะรักษาสัดส่วนของผู้หญิงให้มีมากกว่าร้อยละ 40 ในตำแหน่งผู้บริหารของธนาคาร และในพนักงานทุกระดับ เหนือสิ่งอื่นใดธนาคารไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในที่ทำงานใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นอายุ เพศ รสนิยมทางเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ประเทศต้นกำเนิด สัญชาติ ภูมิหลังทางวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมและภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม
คำแถลงการณ์เรื่องความหลากหลายและการมีส่วนร่วม
รบกวนให้คะแนนเราหน่อยนะ