external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

สิทธิมนุษยชน (Human Rights)

การเคารพในสิทธิมนุษยชนถือเป็นความรับผิดชอบที่สำคัญของธนาคาร เนื่องจากธุรกิจของธนาคารในฐานะสื่อกลางทางการเงินอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนได้ ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงได้จัดทำนโยบายสิทธิมนุษยชน  (Human Rights Policy) ขึ้นในปี 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact Principles) และหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (UN Guiding Principles for Business and Human Rights) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization)

เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายข้างต้น ธนาคารได้ทำการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนรอบด้านโดยมีจุดประสงค์เพื่อระบุความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของกิจกรรมทางธุรกิจ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมการดำเนินงานทั้งหมดของธนาคารและบริษัทในเครือที่ธนาคารมีอำนาจควบคุม รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ผู้รับจ้าง ชุมชนและกลุ่มเปราะบาง (เช่น คนพื้นเมือง เด็ก แรงงานข้ามชาติ) ซึ่งธนาคารจะกำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก่กลุ่มดังกล่าวเนื่องจากมีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในระดับสูง นอกจากนี้ ธนาคารจะดำเนินการเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาและผลกระทบในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ธนาคารได้ประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะมีการทบทวนประเด็นความเสี่ยงดังกล่าวทุก 3 ปี และทบทวนมาตรการบรรเทาความเสี่ยงขั้นสูงเป็นรายปี

นอกจากนี้ ธนาคารยังผนวกการบริหารความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในธุรกิจหลัก รวมทั้งการให้สินเชื่อตามที่ระบุไว้ในนโยบายความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของธนาคาร (TMB Environmental and Social Responsibility Policy) แนวทางปฏิบัติดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของวิถีทางไปสู่การเงินที่ยั่งยืน

ธนาคารไม่มีกรณีการเลือกปฏิบัติและการล่วงละเมิดในปี 2564

นโยบายสิทธิมนุษยชน

Human Rights Risk Assessment Summary Report

สิทธิมนุษยชน (Human Rights)

การเคารพในสิทธิมนุษยชนถือเป็นความรับผิดชอบที่สำคัญของธนาคาร เนื่องจากธุรกิจของธนาคารในฐานะสื่อกลางทางการเงินอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนได้ ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงได้จัดทำนโยบายสิทธิมนุษยชน  (Human Rights Policy) ขึ้นในปี 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact Principles) และหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (UN Guiding Principles for Business and Human Rights) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization)

เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายข้างต้น ธนาคารได้ทำการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนรอบด้านโดยมีจุดประสงค์เพื่อระบุความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของกิจกรรมทางธุรกิจ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมการดำเนินงานทั้งหมดของธนาคารและบริษัทในเครือที่ธนาคารมีอำนาจควบคุม รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ผู้รับจ้าง ชุมชนและกลุ่มเปราะบาง (เช่น คนพื้นเมือง เด็ก แรงงานข้ามชาติ) ซึ่งธนาคารจะกำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก่กลุ่มดังกล่าวเนื่องจากมีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในระดับสูง นอกจากนี้ ธนาคารจะดำเนินการเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาและผลกระทบในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ธนาคารได้ประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะมีการทบทวนประเด็นความเสี่ยงดังกล่าวทุก 3 ปี และทบทวนมาตรการบรรเทาความเสี่ยงขั้นสูงเป็นรายปี

นอกจากนี้ ธนาคารยังผนวกการบริหารความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในธุรกิจหลัก รวมทั้งการให้สินเชื่อตามที่ระบุไว้ในนโยบายความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของธนาคาร (TMB Environmental and Social Responsibility Policy) แนวทางปฏิบัติดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของวิถีทางไปสู่การเงินที่ยั่งยืน

ธนาคารไม่มีกรณีการเลือกปฏิบัติและการล่วงละเมิดในปี 2564

นโยบายสิทธิมนุษยชน

Human Rights Risk Assessment Summary Report

สิทธิมนุษยชน (Human Rights)

การเคารพในสิทธิมนุษยชนถือเป็นความรับผิดชอบที่สำคัญของธนาคาร เนื่องจากธุรกิจของธนาคารในฐานะสื่อกลางทางการเงินอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนได้ ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงได้จัดทำนโยบายสิทธิมนุษยชน  (Human Rights Policy) ขึ้นในปี 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact Principles) และหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (UN Guiding Principles for Business and Human Rights) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization)

เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายข้างต้น ธนาคารได้ทำการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนรอบด้านโดยมีจุดประสงค์เพื่อระบุความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของกิจกรรมทางธุรกิจ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมการดำเนินงานทั้งหมดของธนาคารและบริษัทในเครือที่ธนาคารมีอำนาจควบคุม รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ผู้รับจ้าง ชุมชนและกลุ่มเปราะบาง (เช่น คนพื้นเมือง เด็ก แรงงานข้ามชาติ) ซึ่งธนาคารจะกำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก่กลุ่มดังกล่าวเนื่องจากมีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในระดับสูง นอกจากนี้ ธนาคารจะดำเนินการเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาและผลกระทบในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ธนาคารได้ประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะมีการทบทวนประเด็นความเสี่ยงดังกล่าวทุก 3 ปี และทบทวนมาตรการบรรเทาความเสี่ยงขั้นสูงเป็นรายปี

นอกจากนี้ ธนาคารยังผนวกการบริหารความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในธุรกิจหลัก รวมทั้งการให้สินเชื่อตามที่ระบุไว้ในนโยบายความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของธนาคาร (TMB Environmental and Social Responsibility Policy) แนวทางปฏิบัติดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของวิถีทางไปสู่การเงินที่ยั่งยืน

ธนาคารไม่มีกรณีการเลือกปฏิบัติและการล่วงละเมิดในปี 2564

นโยบายสิทธิมนุษยชน

Human Rights Risk Assessment Summary Report

สิทธิมนุษยชน (Human Rights)

การเคารพในสิทธิมนุษยชนถือเป็นความรับผิดชอบที่สำคัญของธนาคาร เนื่องจากธุรกิจของธนาคารในฐานะสื่อกลางทางการเงินอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนได้ ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงได้จัดทำนโยบายสิทธิมนุษยชน  (Human Rights Policy) ขึ้นในปี 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact Principles) และหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (UN Guiding Principles for Business and Human Rights) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization)

เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายข้างต้น ธนาคารได้ทำการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนรอบด้านโดยมีจุดประสงค์เพื่อระบุความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของกิจกรรมทางธุรกิจ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุมการดำเนินงานทั้งหมดของธนาคารและบริษัทในเครือที่ธนาคารมีอำนาจควบคุม รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ผู้รับจ้าง ชุมชนและกลุ่มเปราะบาง (เช่น คนพื้นเมือง เด็ก แรงงานข้ามชาติ) ซึ่งธนาคารจะกำหนดมาตรการเพิ่มเติมแก่กลุ่มดังกล่าวเนื่องจากมีความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในระดับสูง นอกจากนี้ ธนาคารจะดำเนินการเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาและผลกระทบในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ธนาคารได้ประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะมีการทบทวนประเด็นความเสี่ยงดังกล่าวทุก 3 ปี และทบทวนมาตรการบรรเทาความเสี่ยงขั้นสูงเป็นรายปี

นอกจากนี้ ธนาคารยังผนวกการบริหารความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในธุรกิจหลัก รวมทั้งการให้สินเชื่อตามที่ระบุไว้ในนโยบายความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของธนาคาร (TMB Environmental and Social Responsibility Policy) แนวทางปฏิบัติดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของวิถีทางไปสู่การเงินที่ยั่งยืน

ธนาคารไม่มีกรณีการเลือกปฏิบัติและการล่วงละเมิดในปี 2564

นโยบายสิทธิมนุษยชน

Human Rights Risk Assessment Summary Report


ให้คะแนนความพึงพอใจ
ประสบการณ์ในการใช้งานเว็บไซต์วันนี้ คุณพอใจมากน้อยแค่ไหน ?

รบกวนให้คะแนนเราหน่อยนะ

1
2
3
4
5
ไม่พอใจพอใจมากที่สุด