external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

การส่งเสริมความรู้ทางการเงิน

การส่งเสริมด้านความรู้ทางการเงินและการเข้าถึงบริการทางการเงินจะส่งผลประโยชน์แก่สังคมได้เป็นอย่างมาก ธนาคารตระหนักถึงบทบาทในการสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้ดังกล่าวเพื่อให้ทุกคนในสังคมมีศักยภาพและความพร้อมในการบริหารจัดการเงิน แม้ต้องรับมือกับความท้าทายทางเศรษฐกิจสังคม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีในท้ายที่สุด

ธนาคารได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการของของธนาคารและปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางเงินและปรับปรุงการให้บริการโดยรวม โดยธนาคารสนับสนุนให้เกิดสังคมที่ไร้เงินสด (Cashless Society) และระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment) โดยเปิดบริการชำระเงินด้วย QR (Quick Response) Code และ PromptPay ผ่าน ttb touch และช่องทางดิจิทัลอื่นๆ

ในปี 2560 การให้ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของกรอบการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน ธนาคารได้ริเริ่มโครงการ Financial Literacy Program เพื่อให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ของธนาคารซึ่งเน้นการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าอย่างตรงจุด (need-based) จะดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการให้บริการคำปรึกษาแก่ลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย แผนงานดังกล่าวเน้นการดำเนินงานใน 2 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานด้านความรู้ความเข้าใจการเงินขั้นพื้นฐาน และการร่วมให้ความรู้ทางการเงินในภาคอุตสาหกรรมธนาคารโดยครอบคลุม 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า ชุมชนและหน่วยงานกำกับดูแล

สำหรับแผนงานขั้นแรกในการให้ความรู้ทางการเงินนั้น ธนาคารจะสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งตลอดจนเสริมสร้างทักษะทางการเงินให้กับลูกค้า โดยพัฒนากิจกรรมและแนวทางดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อสร้างความผูกพันบนพื้นฐานของความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ระดับของวุฒิภาวะที่แตกต่างกันและกฎเกณฑ์เบื้องต้นที่จะไม่ทำการ Cross sells กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในปี 2562 ธนาคารได้ริเริ่มแผนงานใหม่ภายใต้โครงการ ttb Financial Literacy Program โดยกำหนดให้พนักงานใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมด้านการให้ความรู้ทางการเงินซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการปฐมนิเทศ ในขณะเดียวกัน ธนาคารได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภายในเพื่อเสริมทักษะของพนักงานในด้านการให้ความรู้ทางการเงิน การสร้างทัศนคติและพฤติกรรม เช่นการเรียนรู้ผ่านระบบ e-learning ในรูปแบบหนังสั้น โดยมีชุดคำถามและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่การประเมินผล ธนาคารเชื่อว่าพนักงานต้องมีความรู้ด้านการเงินก่อนที่จะสามารถให้บริการทางการเงินหรือมีส่วนร่วมกับกลุ่มอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ ในฐานะที่ธนาคารเป็นสมาชิกของสมาคมธนาคารไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ในการประสานความร่วมมือระหว่างธนาคารชั้นนำในประเทศกับองค์กรภาครัฐเพื่อกำหนดและดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงินที่สำคัญ สมาคมธนาคารไทยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมธนาคารในประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านการเงิน อันสะท้อนให้เห็นจากแผนยุทธศาสตร์ 5 ปีของสมาคมฯ ซึ่งประกอบด้วยกลยุทธ์หลัก 7 ประการดังนี้

  1. การสร้างระบบธนาคารและการชำระเงินแบบดิจิทัล
  2. การเข้าถึงบริการทางการเงินและการสนับสนุนภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง
  3. การให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทย
  4. การกำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณของธนาคาร
  5. การเตรียมพร้อมสำหรับ AEC และการเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
  6. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  7. การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

สมาชิกทุกรายของสมาคมธนาคารไทยให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามแผนทั้ง 7 ประการข้างต้น โดยธนาคาร มีบทบาทเป็นผู้นำในด้านการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทยโดยเฉพาะ

ธนาคารเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและการมีวินัยทางการเงิน เช่น การรู้จักออม เป็นก้าวแรก ที่จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงได้ปรับปรุงแอปพลิเคชัน ttb touch ให้มีฟีเจอร์ใหม่ ในการตั้งเป้าหมายการออม(Savings Goal) และการแจ้งเตือนการออม (Savings Alarm) เพื่อส่งเสริมให้ลูกค้าสามารถเริ่่มออมเงินได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งจะช่วยสร้างวินัยทางการเงินที่ดีต่อไป

 

แผนดำเนินงานด้านการให้ความรู้ทางการเงิน

โครงการส่งเสริมและพัฒนาการให้ความรู้ทางการเงินเพื่อข้าราชการทหาร (FEP-MP ตั้งแต่ปี 2560 หรือโครงการ “จัดการเงินดี ชีวีมีสุข”)
โครงการข้างต้นเป็นแผนการร่วมมือระยะ 5 ปีระหว่างธนาคารและกระทรวงกลาโหมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกด้านความรู้ทางการเงินตลอดจนความสำคัญของการวางแผนและบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้ แผนงานดังกล่าวได้กำหนดเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ภาคปฏิบัติสำหรับวิทยาลัยกองทัพทุกแห่ง โดยมุ่งเน้นบุคลากรของกระทรวงกลาโหมโดยเฉพาะ มีบุคลากรของกองทัพเข้ารับการอบรมกว่า 20,000 คน ตั้งแต่โครงการดังกล่าวริเริ่มขึ้น ในปี 2562 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้การรับรองหลักสูตรนี้ โดยมหาวิทยาลัยจะให้การสนับสนุนทางวิชาการในการพัฒนาหลักสูตรระยะต่อไป

โครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินของสมาคมธนาคารไทย (คนไทยยุคใหม่ใส่ใจเรื่องเงิน)
ธนาคารมีบทบาทเป็นผู้นำในภาคอุตสาหกรรมธนาคาร โดยร่วมมือกับสมาชิกสมาคมธนาคารไทย 10 แห่ง เพื่อริเริ่มโครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่ภาคประชาชนในปี 2561 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง ธนาคารที่เข้าร่วมในโครงการจะต้องจัดเตรียมอาสาสมัครเพื่อให้ความรู้แก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย อันจะเป็นพื้นฐานในการสร้างวินัยทางการเงิน การวางแผนการเงินและจิตสำนึกในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โครงการดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งและความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งพัฒนาสังคมไทยต่อไป

การเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารมีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานของธนาคารปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการตามความต้องการของลูกค้า ธนาคารมุ่งหวังที่จะมอบการเข้าถึงผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอย่างเท่าเทียมกัน ครอบคลุม และง่ายต่อลูกค้า นอกนี้ธนาคารพัฒนาโมเดลการทำงานแบบ Digital First ซึ่งมุ่งใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือหลักในการเสนอบริการผ่านช่องทางการสื่อสารและบริการลูกค้าที่หลากหลายและเชื่อมโยงกันให้เป็นหนึ่งเดียวทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ธนาคารสนับสนุนการใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและความสะดวกสบายของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม รวมทั้งสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ ด้านล่างนี้คือโครงการริเริ่มของการเข้าถึงทางการเงิน

แผนดำเนินงานด้านการเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารสนับสนุนให้สังคมไทยทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินได้โดยไร้ข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นความพิการหรือหรือข้อแตกต่างใดๆ
ธนาคารได้รับรางวัล “TAB Digital Inclusive Award 2018” จากสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในฐานะที่เป็นธนาคารแห่งเดียวในประเทศที่พัฒนาการให้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือแก่คนทุกกลุ่มรวมทั้งผู้พิการทางสายตา รางวัลดังกล่าวมีหลักเกณฑ์การพิจารณา 3 ประการ คือ (1) เป็นแอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นเพื่อคนไทยทุกคน (2) เป็นแอปพลิเคชั่นที่มิได้พัฒนาขึ้นเพื่อผู้พิการทางสายตาโดยเฉพาะ และ (3) เป็นแอปพลิเคชั่นที่ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไปของฟังค์ชั่นทั้งหมด โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต์ของธนาคารเพื่อรับทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ TAB Digital Inclusive Award 2018

บริการธนาคารสำหรับทุกกลุ่มสังคมไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลเพียงใด
ธนาคารเพิ่มช่องทางการเปิดบัญชีออนไลน์ ยืนยันตัวตน ฝากเงินและชำระบิล ได้ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ในร้าน 7-Eleven ทุกสาขา ตลอด 24 ชม. เคาน์เตอร์เซอร์วิส เป็นตัวแทนธนาคาร (Banking Agent) ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกล กลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ สามารถลดต้นทุนในการเดินทาง

ส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงิน
จากการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยมีนโยบายส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงินให้แก่ประชาชน ธนาคารจึงได้พัฒนาผลิตภัณท์เงินฝากออมทรัพย์ 2 บัญชี คือ บัญชี ทีทีบี เบสิก และ บัญชีเงินฝากพื้นฐาน พร้อมสิทธิประโยชน์มากมาย เช่น ไม่กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นต่ำสำหรับการเปิดบัญชี ไม่มีค่าธรรมเนียมรายปี ไม่มีค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมผ่านแอปพลิเคชันและตู้ ATM โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง กลุ่มเป้าหมายของบัญชี ทีทีบี เบสิกคือทุกคนโดยไม่มีข้อจำกัด ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายของบัญชีเงินฝากพื้นฐานคือผู้มีรายได้น้อยที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป

การส่งเสริมความรู้ทางการเงิน

การส่งเสริมด้านความรู้ทางการเงินและการเข้าถึงบริการทางการเงินจะส่งผลประโยชน์แก่สังคมได้เป็นอย่างมาก ธนาคารตระหนักถึงบทบาทในการสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้ดังกล่าวเพื่อให้ทุกคนในสังคมมีศักยภาพและความพร้อมในการบริหารจัดการเงิน แม้ต้องรับมือกับความท้าทายทางเศรษฐกิจสังคม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีในท้ายที่สุด

ธนาคารได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการของของธนาคารและปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางเงินและปรับปรุงการให้บริการโดยรวม โดยธนาคารสนับสนุนให้เกิดสังคมที่ไร้เงินสด (Cashless Society) และระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment) โดยเปิดบริการชำระเงินด้วย QR (Quick Response) Code และ PromptPay ผ่าน ttb touch และช่องทางดิจิทัลอื่นๆ

ในปี 2560 การให้ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของกรอบการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน ธนาคารได้ริเริ่มโครงการ Financial Literacy Program เพื่อให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ของธนาคารซึ่งเน้นการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าอย่างตรงจุด (need-based) จะดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการให้บริการคำปรึกษาแก่ลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย แผนงานดังกล่าวเน้นการดำเนินงานใน 2 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานด้านความรู้ความเข้าใจการเงินขั้นพื้นฐาน และการร่วมให้ความรู้ทางการเงินในภาคอุตสาหกรรมธนาคารโดยครอบคลุม 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า ชุมชนและหน่วยงานกำกับดูแล

สำหรับแผนงานขั้นแรกในการให้ความรู้ทางการเงินนั้น ธนาคารจะสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งตลอดจนเสริมสร้างทักษะทางการเงินให้กับลูกค้า โดยพัฒนากิจกรรมและแนวทางดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อสร้างความผูกพันบนพื้นฐานของความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ระดับของวุฒิภาวะที่แตกต่างกันและกฎเกณฑ์เบื้องต้นที่จะไม่ทำการ Cross sells กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในปี 2562 ธนาคารได้ริเริ่มแผนงานใหม่ภายใต้โครงการ ttb Financial Literacy Program โดยกำหนดให้พนักงานใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมด้านการให้ความรู้ทางการเงินซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการปฐมนิเทศ ในขณะเดียวกัน ธนาคารได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภายในเพื่อเสริมทักษะของพนักงานในด้านการให้ความรู้ทางการเงิน การสร้างทัศนคติและพฤติกรรม เช่นการเรียนรู้ผ่านระบบ e-learning ในรูปแบบหนังสั้น โดยมีชุดคำถามและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่การประเมินผล ธนาคารเชื่อว่าพนักงานต้องมีความรู้ด้านการเงินก่อนที่จะสามารถให้บริการทางการเงินหรือมีส่วนร่วมกับกลุ่มอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ ในฐานะที่ธนาคารเป็นสมาชิกของสมาคมธนาคารไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ในการประสานความร่วมมือระหว่างธนาคารชั้นนำในประเทศกับองค์กรภาครัฐเพื่อกำหนดและดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงินที่สำคัญ สมาคมธนาคารไทยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมธนาคารในประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านการเงิน อันสะท้อนให้เห็นจากแผนยุทธศาสตร์ 5 ปีของสมาคมฯ ซึ่งประกอบด้วยกลยุทธ์หลัก 7 ประการดังนี้

  1. การสร้างระบบธนาคารและการชำระเงินแบบดิจิทัล
  2. การเข้าถึงบริการทางการเงินและการสนับสนุนภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง
  3. การให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทย
  4. การกำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณของธนาคาร
  5. การเตรียมพร้อมสำหรับ AEC และการเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
  6. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  7. การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

สมาชิกทุกรายของสมาคมธนาคารไทยให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามแผนทั้ง 7 ประการข้างต้น โดยธนาคาร มีบทบาทเป็นผู้นำในด้านการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทยโดยเฉพาะ

ธนาคารเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและการมีวินัยทางการเงิน เช่น การรู้จักออม เป็นก้าวแรก ที่จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงได้ปรับปรุงแอปพลิเคชัน ttb touch ให้มีฟีเจอร์ใหม่ ในการตั้งเป้าหมายการออม(Savings Goal) และการแจ้งเตือนการออม (Savings Alarm) เพื่อส่งเสริมให้ลูกค้าสามารถเริ่่มออมเงินได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งจะช่วยสร้างวินัยทางการเงินที่ดีต่อไป

 

แผนดำเนินงานด้านการให้ความรู้ทางการเงิน

โครงการส่งเสริมและพัฒนาการให้ความรู้ทางการเงินเพื่อข้าราชการทหาร (FEP-MP ตั้งแต่ปี 2560 หรือโครงการ “จัดการเงินดี ชีวีมีสุข”)
โครงการข้างต้นเป็นแผนการร่วมมือระยะ 5 ปีระหว่างธนาคารและกระทรวงกลาโหมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกด้านความรู้ทางการเงินตลอดจนความสำคัญของการวางแผนและบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้ แผนงานดังกล่าวได้กำหนดเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ภาคปฏิบัติสำหรับวิทยาลัยกองทัพทุกแห่ง โดยมุ่งเน้นบุคลากรของกระทรวงกลาโหมโดยเฉพาะ มีบุคลากรของกองทัพเข้ารับการอบรมกว่า 20,000 คน ตั้งแต่โครงการดังกล่าวริเริ่มขึ้น ในปี 2562 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้การรับรองหลักสูตรนี้ โดยมหาวิทยาลัยจะให้การสนับสนุนทางวิชาการในการพัฒนาหลักสูตรระยะต่อไป

โครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินของสมาคมธนาคารไทย (คนไทยยุคใหม่ใส่ใจเรื่องเงิน)
ธนาคารมีบทบาทเป็นผู้นำในภาคอุตสาหกรรมธนาคาร โดยร่วมมือกับสมาชิกสมาคมธนาคารไทย 10 แห่ง เพื่อริเริ่มโครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่ภาคประชาชนในปี 2561 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง ธนาคารที่เข้าร่วมในโครงการจะต้องจัดเตรียมอาสาสมัครเพื่อให้ความรู้แก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย อันจะเป็นพื้นฐานในการสร้างวินัยทางการเงิน การวางแผนการเงินและจิตสำนึกในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โครงการดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งและความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งพัฒนาสังคมไทยต่อไป

การเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารมีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานของธนาคารปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการตามความต้องการของลูกค้า ธนาคารมุ่งหวังที่จะมอบการเข้าถึงผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอย่างเท่าเทียมกัน ครอบคลุม และง่ายต่อลูกค้า นอกนี้ธนาคารพัฒนาโมเดลการทำงานแบบ Digital First ซึ่งมุ่งใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือหลักในการเสนอบริการผ่านช่องทางการสื่อสารและบริการลูกค้าที่หลากหลายและเชื่อมโยงกันให้เป็นหนึ่งเดียวทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ธนาคารสนับสนุนการใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและความสะดวกสบายของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม รวมทั้งสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ ด้านล่างนี้คือโครงการริเริ่มของการเข้าถึงทางการเงิน

แผนดำเนินงานด้านการเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารสนับสนุนให้สังคมไทยทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินได้โดยไร้ข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นความพิการหรือหรือข้อแตกต่างใดๆ
ธนาคารได้รับรางวัล “TAB Digital Inclusive Award 2018” จากสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในฐานะที่เป็นธนาคารแห่งเดียวในประเทศที่พัฒนาการให้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือแก่คนทุกกลุ่มรวมทั้งผู้พิการทางสายตา รางวัลดังกล่าวมีหลักเกณฑ์การพิจารณา 3 ประการ คือ (1) เป็นแอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นเพื่อคนไทยทุกคน (2) เป็นแอปพลิเคชั่นที่มิได้พัฒนาขึ้นเพื่อผู้พิการทางสายตาโดยเฉพาะ และ (3) เป็นแอปพลิเคชั่นที่ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไปของฟังค์ชั่นทั้งหมด โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต์ของธนาคารเพื่อรับทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ TAB Digital Inclusive Award 2018

บริการธนาคารสำหรับทุกกลุ่มสังคมไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลเพียงใด
ธนาคารเพิ่มช่องทางการเปิดบัญชีออนไลน์ ยืนยันตัวตน ฝากเงินและชำระบิล ได้ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ในร้าน 7-Eleven ทุกสาขา ตลอด 24 ชม. เคาน์เตอร์เซอร์วิส เป็นตัวแทนธนาคาร (Banking Agent) ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกล กลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ สามารถลดต้นทุนในการเดินทาง

ส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงิน
จากการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยมีนโยบายส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงินให้แก่ประชาชน ธนาคารจึงได้พัฒนาผลิตภัณท์เงินฝากออมทรัพย์ 2 บัญชี คือ บัญชี ทีทีบี เบสิก และ บัญชีเงินฝากพื้นฐาน พร้อมสิทธิประโยชน์มากมาย เช่น ไม่กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นต่ำสำหรับการเปิดบัญชี ไม่มีค่าธรรมเนียมรายปี ไม่มีค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมผ่านแอปพลิเคชันและตู้ ATM โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง กลุ่มเป้าหมายของบัญชี ทีทีบี เบสิกคือทุกคนโดยไม่มีข้อจำกัด ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายของบัญชีเงินฝากพื้นฐานคือผู้มีรายได้น้อยที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป

การส่งเสริมความรู้ทางการเงิน

การส่งเสริมด้านความรู้ทางการเงินและการเข้าถึงบริการทางการเงินจะส่งผลประโยชน์แก่สังคมได้เป็นอย่างมาก ธนาคารตระหนักถึงบทบาทในการสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้ดังกล่าวเพื่อให้ทุกคนในสังคมมีศักยภาพและความพร้อมในการบริหารจัดการเงิน แม้ต้องรับมือกับความท้าทายทางเศรษฐกิจสังคม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีในท้ายที่สุด

ธนาคารได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการของของธนาคารและปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางเงินและปรับปรุงการให้บริการโดยรวม โดยธนาคารสนับสนุนให้เกิดสังคมที่ไร้เงินสด (Cashless Society) และระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment) โดยเปิดบริการชำระเงินด้วย QR (Quick Response) Code และ PromptPay ผ่าน ttb touch และช่องทางดิจิทัลอื่นๆ

ในปี 2560 การให้ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของกรอบการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน ธนาคารได้ริเริ่มโครงการ Financial Literacy Program เพื่อให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ของธนาคารซึ่งเน้นการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าอย่างตรงจุด (need-based) จะดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการให้บริการคำปรึกษาแก่ลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย แผนงานดังกล่าวเน้นการดำเนินงานใน 2 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานด้านความรู้ความเข้าใจการเงินขั้นพื้นฐาน และการร่วมให้ความรู้ทางการเงินในภาคอุตสาหกรรมธนาคารโดยครอบคลุม 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า ชุมชนและหน่วยงานกำกับดูแล

สำหรับแผนงานขั้นแรกในการให้ความรู้ทางการเงินนั้น ธนาคารจะสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งตลอดจนเสริมสร้างทักษะทางการเงินให้กับลูกค้า โดยพัฒนากิจกรรมและแนวทางดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อสร้างความผูกพันบนพื้นฐานของความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ระดับของวุฒิภาวะที่แตกต่างกันและกฎเกณฑ์เบื้องต้นที่จะไม่ทำการ Cross sells กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในปี 2562 ธนาคารได้ริเริ่มแผนงานใหม่ภายใต้โครงการ ttb Financial Literacy Program โดยกำหนดให้พนักงานใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมด้านการให้ความรู้ทางการเงินซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการปฐมนิเทศ ในขณะเดียวกัน ธนาคารได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภายในเพื่อเสริมทักษะของพนักงานในด้านการให้ความรู้ทางการเงิน การสร้างทัศนคติและพฤติกรรม เช่นการเรียนรู้ผ่านระบบ e-learning ในรูปแบบหนังสั้น โดยมีชุดคำถามและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่การประเมินผล ธนาคารเชื่อว่าพนักงานต้องมีความรู้ด้านการเงินก่อนที่จะสามารถให้บริการทางการเงินหรือมีส่วนร่วมกับกลุ่มอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ ในฐานะที่ธนาคารเป็นสมาชิกของสมาคมธนาคารไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ในการประสานความร่วมมือระหว่างธนาคารชั้นนำในประเทศกับองค์กรภาครัฐเพื่อกำหนดและดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงินที่สำคัญ สมาคมธนาคารไทยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมธนาคารในประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านการเงิน อันสะท้อนให้เห็นจากแผนยุทธศาสตร์ 5 ปีของสมาคมฯ ซึ่งประกอบด้วยกลยุทธ์หลัก 7 ประการดังนี้

  1. การสร้างระบบธนาคารและการชำระเงินแบบดิจิทัล
  2. การเข้าถึงบริการทางการเงินและการสนับสนุนภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง
  3. การให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทย
  4. การกำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณของธนาคาร
  5. การเตรียมพร้อมสำหรับ AEC และการเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
  6. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  7. การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

สมาชิกทุกรายของสมาคมธนาคารไทยให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามแผนทั้ง 7 ประการข้างต้น โดยธนาคาร มีบทบาทเป็นผู้นำในด้านการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทยโดยเฉพาะ

ธนาคารเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและการมีวินัยทางการเงิน เช่น การรู้จักออม เป็นก้าวแรก ที่จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงได้ปรับปรุงแอปพลิเคชัน ttb touch ให้มีฟีเจอร์ใหม่ ในการตั้งเป้าหมายการออม(Savings Goal) และการแจ้งเตือนการออม (Savings Alarm) เพื่อส่งเสริมให้ลูกค้าสามารถเริ่่มออมเงินได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งจะช่วยสร้างวินัยทางการเงินที่ดีต่อไป

 

แผนดำเนินงานด้านการให้ความรู้ทางการเงิน

โครงการส่งเสริมและพัฒนาการให้ความรู้ทางการเงินเพื่อข้าราชการทหาร (FEP-MP ตั้งแต่ปี 2560 หรือโครงการ “จัดการเงินดี ชีวีมีสุข”)
โครงการข้างต้นเป็นแผนการร่วมมือระยะ 5 ปีระหว่างธนาคารและกระทรวงกลาโหมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกด้านความรู้ทางการเงินตลอดจนความสำคัญของการวางแผนและบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้ แผนงานดังกล่าวได้กำหนดเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ภาคปฏิบัติสำหรับวิทยาลัยกองทัพทุกแห่ง โดยมุ่งเน้นบุคลากรของกระทรวงกลาโหมโดยเฉพาะ มีบุคลากรของกองทัพเข้ารับการอบรมกว่า 20,000 คน ตั้งแต่โครงการดังกล่าวริเริ่มขึ้น ในปี 2562 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้การรับรองหลักสูตรนี้ โดยมหาวิทยาลัยจะให้การสนับสนุนทางวิชาการในการพัฒนาหลักสูตรระยะต่อไป

โครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินของสมาคมธนาคารไทย (คนไทยยุคใหม่ใส่ใจเรื่องเงิน)
ธนาคารมีบทบาทเป็นผู้นำในภาคอุตสาหกรรมธนาคาร โดยร่วมมือกับสมาชิกสมาคมธนาคารไทย 10 แห่ง เพื่อริเริ่มโครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่ภาคประชาชนในปี 2561 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง ธนาคารที่เข้าร่วมในโครงการจะต้องจัดเตรียมอาสาสมัครเพื่อให้ความรู้แก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย อันจะเป็นพื้นฐานในการสร้างวินัยทางการเงิน การวางแผนการเงินและจิตสำนึกในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โครงการดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งและความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งพัฒนาสังคมไทยต่อไป

การเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารมีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานของธนาคารปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการตามความต้องการของลูกค้า ธนาคารมุ่งหวังที่จะมอบการเข้าถึงผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอย่างเท่าเทียมกัน ครอบคลุม และง่ายต่อลูกค้า นอกนี้ธนาคารพัฒนาโมเดลการทำงานแบบ Digital First ซึ่งมุ่งใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือหลักในการเสนอบริการผ่านช่องทางการสื่อสารและบริการลูกค้าที่หลากหลายและเชื่อมโยงกันให้เป็นหนึ่งเดียวทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ธนาคารสนับสนุนการใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและความสะดวกสบายของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม รวมทั้งสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ ด้านล่างนี้คือโครงการริเริ่มของการเข้าถึงทางการเงิน

แผนดำเนินงานด้านการเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารสนับสนุนให้สังคมไทยทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินได้โดยไร้ข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นความพิการหรือหรือข้อแตกต่างใดๆ
ธนาคารได้รับรางวัล “TAB Digital Inclusive Award 2018” จากสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในฐานะที่เป็นธนาคารแห่งเดียวในประเทศที่พัฒนาการให้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือแก่คนทุกกลุ่มรวมทั้งผู้พิการทางสายตา รางวัลดังกล่าวมีหลักเกณฑ์การพิจารณา 3 ประการ คือ (1) เป็นแอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นเพื่อคนไทยทุกคน (2) เป็นแอปพลิเคชั่นที่มิได้พัฒนาขึ้นเพื่อผู้พิการทางสายตาโดยเฉพาะ และ (3) เป็นแอปพลิเคชั่นที่ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไปของฟังค์ชั่นทั้งหมด โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต์ของธนาคารเพื่อรับทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ TAB Digital Inclusive Award 2018

บริการธนาคารสำหรับทุกกลุ่มสังคมไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลเพียงใด
ธนาคารเพิ่มช่องทางการเปิดบัญชีออนไลน์ ยืนยันตัวตน ฝากเงินและชำระบิล ได้ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ในร้าน 7-Eleven ทุกสาขา ตลอด 24 ชม. เคาน์เตอร์เซอร์วิส เป็นตัวแทนธนาคาร (Banking Agent) ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกล กลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ สามารถลดต้นทุนในการเดินทาง

ส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงิน
จากการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยมีนโยบายส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงินให้แก่ประชาชน ธนาคารจึงได้พัฒนาผลิตภัณท์เงินฝากออมทรัพย์ 2 บัญชี คือ บัญชี ทีทีบี เบสิก และ บัญชีเงินฝากพื้นฐาน พร้อมสิทธิประโยชน์มากมาย เช่น ไม่กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นต่ำสำหรับการเปิดบัญชี ไม่มีค่าธรรมเนียมรายปี ไม่มีค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมผ่านแอปพลิเคชันและตู้ ATM โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง กลุ่มเป้าหมายของบัญชี ทีทีบี เบสิกคือทุกคนโดยไม่มีข้อจำกัด ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายของบัญชีเงินฝากพื้นฐานคือผู้มีรายได้น้อยที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป

การส่งเสริมความรู้ทางการเงิน

การส่งเสริมด้านความรู้ทางการเงินและการเข้าถึงบริการทางการเงินจะส่งผลประโยชน์แก่สังคมได้เป็นอย่างมาก ธนาคารตระหนักถึงบทบาทในการสร้างจิตสำนึกและให้ความรู้ดังกล่าวเพื่อให้ทุกคนในสังคมมีศักยภาพและความพร้อมในการบริหารจัดการเงิน แม้ต้องรับมือกับความท้าทายทางเศรษฐกิจสังคม ซึ่งจะส่งผลให้สังคมมีคุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดีในท้ายที่สุด

ธนาคารได้ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการของของธนาคารและปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตลอดจนส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางเงินและปรับปรุงการให้บริการโดยรวม โดยธนาคารสนับสนุนให้เกิดสังคมที่ไร้เงินสด (Cashless Society) และระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment) โดยเปิดบริการชำระเงินด้วย QR (Quick Response) Code และ PromptPay ผ่าน ttb touch และช่องทางดิจิทัลอื่นๆ

ในปี 2560 การให้ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลักของกรอบการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืน ธนาคารได้ริเริ่มโครงการ Financial Literacy Program เพื่อให้มั่นใจว่ากลยุทธ์ของธนาคารซึ่งเน้นการตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าอย่างตรงจุด (need-based) จะดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการให้บริการคำปรึกษาแก่ลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย แผนงานดังกล่าวเน้นการดำเนินงานใน 2 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานด้านความรู้ความเข้าใจการเงินขั้นพื้นฐาน และการร่วมให้ความรู้ทางการเงินในภาคอุตสาหกรรมธนาคารโดยครอบคลุม 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ พนักงาน ลูกค้า ชุมชนและหน่วยงานกำกับดูแล

สำหรับแผนงานขั้นแรกในการให้ความรู้ทางการเงินนั้น ธนาคารจะสร้างความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งตลอดจนเสริมสร้างทักษะทางการเงินให้กับลูกค้า โดยพัฒนากิจกรรมและแนวทางดำเนินการที่เหมาะสมเพื่อสร้างความผูกพันบนพื้นฐานของความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ระดับของวุฒิภาวะที่แตกต่างกันและกฎเกณฑ์เบื้องต้นที่จะไม่ทำการ Cross sells กับผู้ที่เกี่ยวข้อง

ในปี 2562 ธนาคารได้ริเริ่มแผนงานใหม่ภายใต้โครงการ ttb Financial Literacy Program โดยกำหนดให้พนักงานใหม่ทุกคนต้องผ่านการอบรมด้านการให้ความรู้ทางการเงินซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการปฐมนิเทศ ในขณะเดียวกัน ธนาคารได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภายในเพื่อเสริมทักษะของพนักงานในด้านการให้ความรู้ทางการเงิน การสร้างทัศนคติและพฤติกรรม เช่นการเรียนรู้ผ่านระบบ e-learning ในรูปแบบหนังสั้น โดยมีชุดคำถามและกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่การประเมินผล ธนาคารเชื่อว่าพนักงานต้องมีความรู้ด้านการเงินก่อนที่จะสามารถให้บริการทางการเงินหรือมีส่วนร่วมกับกลุ่มอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ ในฐานะที่ธนาคารเป็นสมาชิกของสมาคมธนาคารไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ในการประสานความร่วมมือระหว่างธนาคารชั้นนำในประเทศกับองค์กรภาครัฐเพื่อกำหนดและดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจและการเงินที่สำคัญ สมาคมธนาคารไทยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมธนาคารในประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านการเงิน อันสะท้อนให้เห็นจากแผนยุทธศาสตร์ 5 ปีของสมาคมฯ ซึ่งประกอบด้วยกลยุทธ์หลัก 7 ประการดังนี้

  1. การสร้างระบบธนาคารและการชำระเงินแบบดิจิทัล
  2. การเข้าถึงบริการทางการเงินและการสนับสนุนภาคเศรษฐกิจที่แท้จริง
  3. การให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทย
  4. การกำหนดมาตรฐานจรรยาบรรณของธนาคาร
  5. การเตรียมพร้อมสำหรับ AEC และการเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
  6. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  7. การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง

สมาชิกทุกรายของสมาคมธนาคารไทยให้ความร่วมมือในการดำเนินงานตามแผนทั้ง 7 ประการข้างต้น โดยธนาคาร มีบทบาทเป็นผู้นำในด้านการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่สังคมไทยโดยเฉพาะ

ธนาคารเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและการมีวินัยทางการเงิน เช่น การรู้จักออม เป็นก้าวแรก ที่จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตทางการเงินที่ดี ธนาคารจึงได้ปรับปรุงแอปพลิเคชัน ttb touch ให้มีฟีเจอร์ใหม่ ในการตั้งเป้าหมายการออม(Savings Goal) และการแจ้งเตือนการออม (Savings Alarm) เพื่อส่งเสริมให้ลูกค้าสามารถเริ่่มออมเงินได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งจะช่วยสร้างวินัยทางการเงินที่ดีต่อไป

 

แผนดำเนินงานด้านการให้ความรู้ทางการเงิน

โครงการส่งเสริมและพัฒนาการให้ความรู้ทางการเงินเพื่อข้าราชการทหาร (FEP-MP ตั้งแต่ปี 2560 หรือโครงการ “จัดการเงินดี ชีวีมีสุข”)
โครงการข้างต้นเป็นแผนการร่วมมือระยะ 5 ปีระหว่างธนาคารและกระทรวงกลาโหมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกด้านความรู้ทางการเงินตลอดจนความสำคัญของการวางแผนและบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้ แผนงานดังกล่าวได้กำหนดเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ภาคปฏิบัติสำหรับวิทยาลัยกองทัพทุกแห่ง โดยมุ่งเน้นบุคลากรของกระทรวงกลาโหมโดยเฉพาะ มีบุคลากรของกองทัพเข้ารับการอบรมกว่า 20,000 คน ตั้งแต่โครงการดังกล่าวริเริ่มขึ้น ในปี 2562 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้การรับรองหลักสูตรนี้ โดยมหาวิทยาลัยจะให้การสนับสนุนทางวิชาการในการพัฒนาหลักสูตรระยะต่อไป

โครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินของสมาคมธนาคารไทย (คนไทยยุคใหม่ใส่ใจเรื่องเงิน)
ธนาคารมีบทบาทเป็นผู้นำในภาคอุตสาหกรรมธนาคาร โดยร่วมมือกับสมาชิกสมาคมธนาคารไทย 10 แห่ง เพื่อริเริ่มโครงการส่งเสริมการให้ความรู้ทางการเงินแก่ภาคประชาชนในปี 2561 ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่อง ธนาคารที่เข้าร่วมในโครงการจะต้องจัดเตรียมอาสาสมัครเพื่อให้ความรู้แก่นิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย อันจะเป็นพื้นฐานในการสร้างวินัยทางการเงิน การวางแผนการเงินและจิตสำนึกในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โครงการดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างรากฐานที่แข็งแกร่งและความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งพัฒนาสังคมไทยต่อไป

การเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารมีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานของธนาคารปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการตามความต้องการของลูกค้า ธนาคารมุ่งหวังที่จะมอบการเข้าถึงผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินอย่างเท่าเทียมกัน ครอบคลุม และง่ายต่อลูกค้า นอกนี้ธนาคารพัฒนาโมเดลการทำงานแบบ Digital First ซึ่งมุ่งใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือหลักในการเสนอบริการผ่านช่องทางการสื่อสารและบริการลูกค้าที่หลากหลายและเชื่อมโยงกันให้เป็นหนึ่งเดียวทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ธนาคารสนับสนุนการใช้บริการธนาคารผ่านโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและความสะดวกสบายของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม รวมทั้งสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ ด้านล่างนี้คือโครงการริเริ่มของการเข้าถึงทางการเงิน

แผนดำเนินงานด้านการเข้าถึงทางการเงิน

ธนาคารสนับสนุนให้สังคมไทยทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินได้โดยไร้ข้อจำกัด ไม่ว่าจะเป็นความพิการหรือหรือข้อแตกต่างใดๆ
ธนาคารได้รับรางวัล “TAB Digital Inclusive Award 2018” จากสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในฐานะที่เป็นธนาคารแห่งเดียวในประเทศที่พัฒนาการให้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือแก่คนทุกกลุ่มรวมทั้งผู้พิการทางสายตา รางวัลดังกล่าวมีหลักเกณฑ์การพิจารณา 3 ประการ คือ (1) เป็นแอปพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นเพื่อคนไทยทุกคน (2) เป็นแอปพลิเคชั่นที่มิได้พัฒนาขึ้นเพื่อผู้พิการทางสายตาโดยเฉพาะ และ (3) เป็นแอปพลิเคชั่นที่ผู้พิการทางสายตาสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไปของฟังค์ชั่นทั้งหมด โปรดเยี่ยมชมเว็บไซต์ของธนาคารเพื่อรับทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ TAB Digital Inclusive Award 2018

บริการธนาคารสำหรับทุกกลุ่มสังคมไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลเพียงใด
ธนาคารเพิ่มช่องทางการเปิดบัญชีออนไลน์ ยืนยันตัวตน ฝากเงินและชำระบิล ได้ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส ในร้าน 7-Eleven ทุกสาขา ตลอด 24 ชม. เคาน์เตอร์เซอร์วิส เป็นตัวแทนธนาคาร (Banking Agent) ซึ่งจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงและสามารถอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ห่างไกล กลุ่มลูกค้าที่มีถิ่นที่อยู่ห่างไกลทั่วประเทศได้ สามารถลดต้นทุนในการเดินทาง

ส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงิน
จากการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยและสมาคมธนาคารไทยมีนโยบายส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการเงินให้แก่ประชาชน ธนาคารจึงได้พัฒนาผลิตภัณท์เงินฝากออมทรัพย์ 2 บัญชี คือ บัญชี ทีทีบี เบสิก และ บัญชีเงินฝากพื้นฐาน พร้อมสิทธิประโยชน์มากมาย เช่น ไม่กำหนดจำนวนเงินฝากขั้นต่ำสำหรับการเปิดบัญชี ไม่มีค่าธรรมเนียมรายปี ไม่มีค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมผ่านแอปพลิเคชันและตู้ ATM โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง กลุ่มเป้าหมายของบัญชี ทีทีบี เบสิกคือทุกคนโดยไม่มีข้อจำกัด ในขณะที่กลุ่มเป้าหมายของบัญชีเงินฝากพื้นฐานคือผู้มีรายได้น้อยที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป


ให้คะแนนความพึงพอใจ
ประสบการณ์ในการใช้งานเว็บไซต์วันนี้ คุณพอใจมากน้อยแค่ไหน ?

รบกวนให้คะแนนเราหน่อยนะ

1
2
3
4
5
ไม่พอใจพอใจมากที่สุด