external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ

ในปี 2563 ธนาคารได้ทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (ESR Policy) โดยยกระดับแนวทางการปล่อยสินเชื่อให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และปรับแนวการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร ผลกระทบเหล่านี้ยังเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรและสามารถสร้างความเสียหายทางการเงินแก่ธนาคารได้เช่นกัน

ธนาคารเล็งเห็นถึงประเด็นข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนและการตอบสนองต่อความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดเป็นนโยบาย ESR ขึ้น โดยนโยบาย ESR สอดคล้องกับแนวปฏิบัติในประเทศ อาทิ แนวทางการดำเนินกิจการธนาคารอย่างยั่งยืนในด้านการให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ของสมาคมธนาคารไทย อีกทั้งยังนำแนวปฏิบัติ กรอบการดำเนินงาน และมาตรฐานระดับสากลมาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อและการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เช่น Equator Principles, the United Nations Environment Programme Finance Initiative (UNEP FI)’s Principles for Responsible Banking, IFC Performance Standards on Environmental and Social Sustainability, International Capital Market Association (ICMA)’s sustainable finance initiatives, the UN Global Compact, the UN Guiding Principles for Business and Human Rights, International Labor Organization เป็นต้น โดยที่หลักการเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นที่สร้างอนาคตที่ยั่งยืน โดยที่ความต้องการของสังคมตลอดจนความมุ่งมั่นในระดับสากลดังเช่น Sustainable Development Goals และ Paris Agreement ได้รับการตอบสนองอย่างทันท่วงที


การรับฟังและการบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน

ธนาคารให้ความสำคัญกับการรับฟังข้อคิดเห็น คำแนะนำติชม และข้อร้องเรียนจากภายนอกองค์กร ทั้งจากลูกค้าบุคคล ลูกค้าธุรกิจ คู่ค้า ประชาชนและสังคม โดยมีกระบวนการและแนวปฏิบัติอย่างเป็นลำดับขั้นตอนในการรับฟังและบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน ซึ่งมาจากหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทาง คอนแทค เซ็นเตอร์ แบบฟอร์มออนไลน์บน ttbbank.com พนักงานที่ดูแลลูกค้า สาขา รวมถึงจากช่องทางโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ซึ่งความเห็นในส่วนของข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสังคมรวมถึงกิจกรรมที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินนั้น ธนาคารจะทำการบันทึกข้อมูลและส่งต่อเรื่องไปยังหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (Environmental and Social Responsibility) โดยตรง ในกรณีที่เป็นประเด็นร้องเรียนหรือข้อพิพาทที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง หรือเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ธนาคารจะมีการจัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือกันในการบริหารจัดการ ดูแล และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงทำการสื่อสารกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบอย่างมีประสิทธิภาพ

 

นโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ

ในปี 2563 ธนาคารได้ทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (ESR Policy) โดยยกระดับแนวทางการปล่อยสินเชื่อให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และปรับแนวการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร ผลกระทบเหล่านี้ยังเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรและสามารถสร้างความเสียหายทางการเงินแก่ธนาคารได้เช่นกัน

ธนาคารเล็งเห็นถึงประเด็นข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนและการตอบสนองต่อความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดเป็นนโยบาย ESR ขึ้น โดยนโยบาย ESR สอดคล้องกับแนวปฏิบัติในประเทศ อาทิ แนวทางการดำเนินกิจการธนาคารอย่างยั่งยืนในด้านการให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ของสมาคมธนาคารไทย อีกทั้งยังนำแนวปฏิบัติ กรอบการดำเนินงาน และมาตรฐานระดับสากลมาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อและการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เช่น Equator Principles, the United Nations Environment Programme Finance Initiative (UNEP FI)’s Principles for Responsible Banking, IFC Performance Standards on Environmental and Social Sustainability, International Capital Market Association (ICMA)’s sustainable finance initiatives, the UN Global Compact, the UN Guiding Principles for Business and Human Rights, International Labor Organization เป็นต้น โดยที่หลักการเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นที่สร้างอนาคตที่ยั่งยืน โดยที่ความต้องการของสังคมตลอดจนความมุ่งมั่นในระดับสากลดังเช่น Sustainable Development Goals และ Paris Agreement ได้รับการตอบสนองอย่างทันท่วงที


การรับฟังและการบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน

ธนาคารให้ความสำคัญกับการรับฟังข้อคิดเห็น คำแนะนำติชม และข้อร้องเรียนจากภายนอกองค์กร ทั้งจากลูกค้าบุคคล ลูกค้าธุรกิจ คู่ค้า ประชาชนและสังคม โดยมีกระบวนการและแนวปฏิบัติอย่างเป็นลำดับขั้นตอนในการรับฟังและบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน ซึ่งมาจากหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทาง คอนแทค เซ็นเตอร์ แบบฟอร์มออนไลน์บน ttbbank.com พนักงานที่ดูแลลูกค้า สาขา รวมถึงจากช่องทางโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ซึ่งความเห็นในส่วนของข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสังคมรวมถึงกิจกรรมที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินนั้น ธนาคารจะทำการบันทึกข้อมูลและส่งต่อเรื่องไปยังหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (Environmental and Social Responsibility) โดยตรง ในกรณีที่เป็นประเด็นร้องเรียนหรือข้อพิพาทที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง หรือเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ธนาคารจะมีการจัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือกันในการบริหารจัดการ ดูแล และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงทำการสื่อสารกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบอย่างมีประสิทธิภาพ

 

นโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ

ในปี 2563 ธนาคารได้ทบทวนนโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (ESR Policy) โดยยกระดับแนวทางการปล่อยสินเชื่อให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และปรับแนวการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร ผลกระทบเหล่านี้ยังเป็นความเสี่ยงต่อชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือขององค์กรและสามารถสร้างความเสียหายทางการเงินแก่ธนาคารได้เช่นกัน

ธนาคารเล็งเห็นถึงประเด็นข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนและการตอบสนองต่อความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นรากฐานที่ก่อให้เกิดเป็นนโยบาย ESR ขึ้น โดยนโยบาย ESR สอดคล้องกับแนวปฏิบัติในประเทศ อาทิ แนวทางการดำเนินกิจการธนาคารอย่างยั่งยืนในด้านการให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบ ของสมาคมธนาคารไทย อีกทั้งยังนำแนวปฏิบัติ กรอบการดำเนินงาน และมาตรฐานระดับสากลมาประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับเกณฑ์การพิจารณาสินเชื่อและการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เช่น Equator Principles, the United Nations Environment Programme Finance Initiative (UNEP FI)’s Principles for Responsible Banking, IFC Performance Standards on Environmental and Social Sustainability, International Capital Market Association (ICMA)’s sustainable finance initiatives, the UN Global Compact, the UN Guiding Principles for Business and Human Rights, International Labor Organization เป็นต้น โดยที่หลักการเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นที่สร้างอนาคตที่ยั่งยืน โดยที่ความต้องการของสังคมตลอดจนความมุ่งมั่นในระดับสากลดังเช่น Sustainable Development Goals และ Paris Agreement ได้รับการตอบสนองอย่างทันท่วงที


การรับฟังและการบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน

ธนาคารให้ความสำคัญกับการรับฟังข้อคิดเห็น คำแนะนำติชม และข้อร้องเรียนจากภายนอกองค์กร ทั้งจากลูกค้าบุคคล ลูกค้าธุรกิจ คู่ค้า ประชาชนและสังคม โดยมีกระบวนการและแนวปฏิบัติอย่างเป็นลำดับขั้นตอนในการรับฟังและบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน ซึ่งมาจากหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทาง คอนแทค เซ็นเตอร์ แบบฟอร์มออนไลน์บน ttbbank.com พนักงานที่ดูแลลูกค้า สาขา รวมถึงจากช่องทางโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ซึ่งความเห็นในส่วนของข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสังคมรวมถึงกิจกรรมที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินนั้น ธนาคารจะทำการบันทึกข้อมูลและส่งต่อเรื่องไปยังหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (Environmental and Social Responsibility) โดยตรง ในกรณีที่เป็นประเด็นร้องเรียนหรือข้อพิพาทที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง หรือเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ธนาคารจะมีการจัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมมือกันในการบริหารจัดการ ดูแล และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงทำการสื่อสารกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบอย่างมีประสิทธิภาพ

 

นโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม


ให้คะแนนความพึงพอใจ
ประสบการณ์ในการใช้งานเว็บไซต์วันนี้ คุณพอใจมากน้อยแค่ไหน ?

รบกวนให้คะแนนเราหน่อยนะ

1
2
3
4
5
ไม่พอใจพอใจมากที่สุด