Economic analysis
เสถียรภาพเศรษฐกิจไทย...เปลี่ยนไปอย่างไรหลังโควิด-19
จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจไทย โดยพิจารณาจากรายได้ที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงเกือบ 2 ปี ส่งผลให้เริ่มขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปีนับแต่ปี 2548 การเปลี่ยนแปลงนี้จึงกลายเป็นจุดเปราะบางของเสถียรภาพเศรษฐกิจไทยที่ชัดเจนขึ้นในช่วงนี้ ขณะที่หนี้สาธารณะ หนี้ภายนอกประเทศ และทุนสำรองระหว่างประเทศ ยังมีระดับที่แข็งแกร่งมากเพียงพอรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจได้
ttb analytics ลุ้นเศรษฐกิจพ้นจุดต่ำสุดของโควิดในไตรมาส 4
รุกฉีดวัคซีนพื้นที่แดงเข้ม 70% หนุน GDP ทั้งปี 64 ยังโตได้ 0.3%
ธุรกิจส่อแววโตช้า เหตุคลัสเตอร์แรงงานระบาดสูง
โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานต่างด้าวเพื่อนบ้านกว่า 2.1 ล้านคน เร่งยับยั้งการระบาด พร้อมปรับแนวทางดูแล เพื่อพลิกฟื้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ภูเก็ตแซนด์บอกซ์ : ถอดบทเรียนจากมัลดีฟส์ และเซเชลส์
การเร่งกระจายฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 เป็นประเด็นที่ทุกภาคส่วนของไทยกาลังให้ความสาคัญ เนื่องจากเชื่อว่า “วัคซีน” จะเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจมีโอกาสกลับมาพลิกฟื้นได้ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว
ttb analytics คาดมาตรการเยียวยา ความคืบหน้าการฉีดวัคซีน และเป้าหมายเดินหน้าปลดล็อกประเทศ 120 วัน
เป็นปัจจัยฟื้นความเชื่อมั่น พยุงการบริโภคภาคเอกชนทั้งปี 2564 โต 2% และเป็นฐานให้โตดีขึ้นในปี 2565
TMB Analytics ประเมินเม็ดเงิน มาตรการ“พักทรัพย์พักหนี้” 1 แสนล้านบาท
พร้อมช่วยเหลือ โรงแรมและธุรกิจบริการอื่นๆ คาดธุรกิจท่องเที่ยว SMEs ได้รับผลประโยชน์กว่า 18,650 ราย บรรเทาภาระหนี้ถึง 9.1 หมื่นล้านบาท
TMB Analytics ประเมินหากไทยพร้อมรองรับนักท่องเที่ยวได้ตั้งแต่ช่วงไตรมาส 4
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะกลับมามีทั้งจาก ประเทศหลักในยุโรป สหรัฐอเมริกา และกลุ่มเอเชียตะวันออกบางประเทศ โดยหากดึงดูดนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ได้ 50% ของจำนวนเดิมก่อนโควิด จะสร้างรายได้กว่า 6.4 หมื่นล้านบาท