external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

Economic analysis

ttb analytics มองสงกรานต์เป็นจุดเริ่มกลับสู่โหมดเดินทางท่องเที่ยวหลังอั้นมาสองปี ดันรายได้การท่องเที่ยวไทย ปี 2565 แตะ 1 ล้านล้านบาท สูงสุดในรอบกว่าสองปี

หลากหลายปัจจัยบวกหนุนการท่องเที่ยวไทยให้ฟื้นตัวต่อเนื่อง ดันรายได้นักท่องเที่ยวรวมทั้งปีเพิ่มขึ้นแตะ 1 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น 37%ของรายได้ปี 2562

7 เมษายน 2565

ttb analytics ประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทย หลังเผชิญเงินเฟ้อสูง

ttb analytics ประเมินเศรษฐกิจไทยเติบโต 3.0% จากปัจจัยการแพร่ระบาดโควิด-19 สายพันธุ์โอไมครอนที่ยังมีอยู่ และแรงกดดันเงินเฟ้อที่เร่งตัวสูงหลังเกิดความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน พร้อมยังมีความเสี่ยงที่จะขยายตัวต่ำกว่าที่ประเมินไว้ หากสถานการณ์ยืดเยื้อ

1 เมษายน 2565

ttb analytics มองทิศทางธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 65 ฟื้นตัวด้วยแรงหนุนมาตรการ LTV และ ดีมานด์เร่งซื้อก่อนราคาขยับตามต้นทุนก่อสร้างที่สูงขึ้น พร้อมแนะปรับกลยุทธ์ตอบรับปัจจัยและเทรนด์โลกที่เปลี่ยนแปลงในระยะยาว

จากการที่เศรษฐกิจเริ่มปรับดีขึ้นในไตรมาสสุดท้ายปี 2564 กอปรกับมีมาตรการ LTV (Loan to Value Ratio - อัตราส่วนสินเชื่อต่อราคาบ้าน) สนับสนุนจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ทำให้ในปีนี้ภาคอสังหาริมทรัพย์มีแนวโน้มฟื้นตัว แต่ยังไม่กลับสู่ระดับก่อนเกิดการระบาด

21 มีนาคม 2565

ttb analytics ชี้ 3 ปัจจัยท้าทายเศรษฐกิจการเงินไทย ที่ต้องเร่งรับมือในปี 2565

การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยปี 2565 นอกจากความเสี่ยงของสถานการณ์โควิด-19 สายพันธุ์ใหม่แล้ว ยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยด้านจุดอ่อนเศรษฐกิจไทย ทิศทางการดำเนินนโยบายระดับโลก และพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป ที่ควรต้องเร่งปรับตัวเพื่อรับมือ

17 ธันวาคม 2564

มองเศรษฐกิจไทยปี 65 ฟื้นตัวใกล้ก่อนโควิด คาดเติบโต 3.6% จากประมาณการ 1% ในปี 64

ttb analytics เผยเศรษฐกิจไทยปี 2565 มีแนวโน้มขยายตัว 3.6% จากทุกองค์ประกอบที่มีแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจมากขึ้น โดยเฉพาะปัจจัยการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ฟื้นตัวกลับมาได้เร็วใกล้เคียงช่วงก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ส่วนการลงทุนภาครัฐยังขยายตัวเพิ่มขึ้น การส่งออกเติบโตต่อเนื่อง ขณะที่การท่องเที่ยวทยอยฟื้นตัว และใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 2 ปีในการกลับสู่ระดับปกติ

18 พฤศจิกายน 2564

เสถียรภาพเศรษฐกิจไทย...เปลี่ยนไปอย่างไรหลังโควิด-19

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจไทย โดยพิจารณาจากรายได้ที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วงเกือบ 2 ปี ส่งผลให้เริ่มขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปีนับแต่ปี 2548 การเปลี่ยนแปลงนี้จึงกลายเป็นจุดเปราะบางของเสถียรภาพเศรษฐกิจไทยที่ชัดเจนขึ้นในช่วงนี้ ขณะที่หนี้สาธารณะ หนี้ภายนอกประเทศ และทุนสำรองระหว่างประเทศ ยังมีระดับที่แข็งแกร่งมากเพียงพอรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจได้

8 ตุลาคม 2564

ttb analytics ลุ้นเศรษฐกิจพ้นจุดต่ำสุดของโควิดในไตรมาส 4

รุกฉีดวัคซีนพื้นที่แดงเข้ม 70% หนุน GDP ทั้งปี 64 ยังโตได้ 0.3%

16 สิงหาคม 2564

ธุรกิจส่อแววโตช้า เหตุคลัสเตอร์แรงงานระบาดสูง

โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานต่างด้าวเพื่อนบ้านกว่า 2.1 ล้านคน เร่งยับยั้งการระบาด พร้อมปรับแนวทางดูแล เพื่อพลิกฟื้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

2 กรกฎาคม 2564

ภูเก็ตแซนด์บอกซ์ : ถอดบทเรียนจากมัลดีฟส์ และเซเชลส์

การเร่งกระจายฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 เป็นประเด็นที่ทุกภาคส่วนของไทยกาลังให้ความสาคัญ เนื่องจากเชื่อว่า “วัคซีน” จะเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจมีโอกาสกลับมาพลิกฟื้นได้ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว

28 มิถุนายน 2564

ttb analytics คาดมาตรการเยียวยา ความคืบหน้าการฉีดวัคซีน และเป้าหมายเดินหน้าปลดล็อกประเทศ 120 วัน

เป็นปัจจัยฟื้นความเชื่อมั่น พยุงการบริโภคภาคเอกชนทั้งปี 2564 โต 2% และเป็นฐานให้โตดีขึ้นในปี 2565

8 มิถุนายน 2564
ให้คะแนนความพึงพอใจ
ประสบการณ์ในการใช้งานเว็บไซต์วันนี้ คุณพอใจมากน้อยแค่ไหน ?

รบกวนให้คะแนนเราหน่อยนะ

1
2
3
4
5
ไม่พอใจพอใจมากที่สุด