external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

Suggest Keywords

  • ห้องข่าว
  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • ความยั่งยืน
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อธนาคาร
ttb-logo
เมนู
  • ลูกค้าบุคคล
  • ลูกค้าเอสเอ็มอี
  • ลูกค้าธุรกิจ
  • ทีทีบี รีเซิร์ฟ
  • โปรโมชันและสิทธิพิเศษ
  • อัตราและค่าธรรมเนียม
  • ค้นหา
  • เข้าสู่ระบบ ttb business
    ttb business onettb business click
  • สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
  • บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
  • บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
  • ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
  • finbiz เสริมความรู้ SME
  • สนใจสมัครผลิตภัณฑ์
ค้นหาจุดให้บริการ
หน้าหลัก ทีทีบี
ลูกค้าบุคคล
หน้าหลักลูกค้าบุคคล
เคล็ดลับการเงิน
บัญชีและบัตรเดบิต
บัตรเครดิต
สินเชื่อ
ประกัน
ลงทุน
บัญชีเงินเดือน ทีทีบี
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง
บริการอื่น ๆ
ลูกค้าเอสเอ็มอี
หน้าหลักลูกค้าเอสเอ็มอี นิติบุคคล
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
finbiz เสริมความรู้ SME
สนใจสมัครผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ลูกค้าเอสเอ็มอี บุคคลธรรมดา
เข้าสู่ระบบ
ttb business one
ttb business click
ลูกค้าธุรกิจ
หน้าหลักลูกค้าธุรกิจ
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
เข้าสู่ระบบ
ttb business one
ttb business click
ทีทีบี รีเซิร์ฟ
หน้าหลักทีทีบี รีเซิร์ฟ
เอกสิทธิ์พิเศษ
โปรโมชันพิเศษ
อัปเดตการลงทุน
โซลูชันการลงทุนและสกุลเงินต่างประเทศ
โปรโมชันและสิทธิพิเศษ
หน้าหลักโปรโมชันและสิทธิพิเศษ
บัญชี
บัตรเครดิต
สินเชื่อ
ประกัน
ลงทุน
บัญชีเงินเดือน ทีทีบี
ทีทีบี รีเซิร์ฟ
ttb rewards plus
อัตราและค่าธรรมเนียม
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
อัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมสินเชื่อรถยนต์
ค่าธรรมเนียมอื่นๆ
Forward Points
ห้องข่าว
หน้าหลักห้องข่าว
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวลูกค้าธุรกิจ
ข่าวศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
เกี่ยวกับ ทีทีบี
หน้าหลักเกี่ยวกับ ทีทีบี
รู้จัก ทีทีบี
ประวัติธนาคาร
ลักษณะประกอบธุรกิจ
โครงสร้างและการจัดการ
บรรษัทภิบาล
การบริหารความเสี่ยง
ข้อตกลงการใช้เว็บไซต์
ความยั่งยืน
หน้าหลักความยั่งยืน
แนวทางความยั่งยืน
ความยั่งยืนทางธุรกิจ
ความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
ความยั่งยืนด้านสังคม
บรรษัทภิบาลและจริยธรรมทางธุรกิจ
นโยบายและการรายงาน
นักลงทุนสัมพันธ์
หน้าหลักนักลงทุนสัมพันธ์
ข้อมูลทางด้านการเงิน
ข้อมูลนำเสนอ
ข้อมูลหลักทรัพย์
ข้อมูลตราสารหนี้และอันดับความน่าเชื่อถือ
ข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์และนักลงทุน
บริการผู้ถือหุ้น
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
ร่วมงานกับเรา
หน้าหลักร่วมงานกับเรา
เหตุผลที่ควรร่วมงานกับ ttb
เราทำงานกันอย่างไร
ติดต่อเรา
นโยบายความเป็นส่วนตัวผู้สมัครงาน
ตำแหน่งที่เปิดรับสมัคร
ติดต่อธนาคาร

เตรียมความพร้อมผู้ส่งออกไทย สู่โอกาสใหม่ในอินเดีย

10 ก.ค. 2566

ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics คาดว่าอินเดียกำลังจะก้าวขึ้นเป็นตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 5 ของไทยในปีนี้ finbiz by ttb จึงนำข้อมูลด้านการเตรียมธุรกิจไปบุกตลาดอินเดียกัน โดยอินเดียเป็นประเทศที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ 10 อันดับแรก


ปัจจัยการเติบโตของอินเดียมาจากโครงสร้างประชากรในวัยแรงงานที่อยู่ในช่วงกำลังขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกกว่า 180 ล้านคน สัดส่วนครัวเรือนที่มีรายได้ปานกลางในระดับสูง (Upper Middle-Income) ขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็น 51% ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด ทำให้อินเดียเป็นตลาดส่งออกที่น่าจับตามอง โดยเฉพาะในปีนี้ ตลาดอินเดียจึงมีโอกาสขยับเป็นตลาดส่งออกอันดับ 5 ของไทยด้วยมูลค่าส่งออกถึง 4.2 แสนล้านบาท


อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงและกำลังโตอย่างต่อเนื่อง จากการประมาณการของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ที่คาดว่าเศรษฐกิจอินเดียจะขยายตัว 5.9% ในปี 2023 และยังมีศักยภาพที่จะรักษาการเติบโตเฉลี่ยได้ที่ 6.1% ในช่วงปี 2023-2028 และการเติบโตของกำลังซื้อในประเทศที่มีมากขึ้น ทำให้อินเดียเริ่มนำเข้าสินค้าหลายรายการเพื่อตอบสนองกำลังซื้อ อินเดียจึงมีโอกาสขยับสถานะมาเป็นตลาดส่งออกอันดับที่ 5 ของไทย ด้วยมูลค่าการส่งออก 4.2 แสนล้านบาท จากอันดับที่ 10 เมื่อมี 2019 ประกอบกับ โครงสร้างประชากรวัยแรงงานที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเพิ่มกำลังซื้อในประเทศในระยะยาว ทั้งนี้ด้วยเหตุที่ประชากรวัยแรงงานมีจำนวนมากและกำลังขยายตัว รวมถึงรายได้ต่อหัวที่สูงขึ้นถึง 56% ทำให้มีกำลังซื้อเพิ่มขึ้นด้วยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และนอกจากนี้ ttb analytics ยังประเมินว่าภายในปี 2028 ประเทศอินเดียมีแนวโน้มขยับขึ้นเป็นตลาดส่งออกลำดับที่ 3 ของไทยแทนที่ญี่ปุ่นอีกด้วย


เหตุผลที่ผู้ประกอบการไทย ควรพิจารณาการไปอินเดีย

  1. ตลาดขนาดใหญ่ และกำลังซื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลด้านปริมาณและคุณภาพของประชากรดังที่กล่าวไปข้างต้น
  2. เศรษฐกิจของอินเดียกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศที่เศรษฐกิจกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
  3. กระจายความเสี่ยง การขยายตลาดส่งออกไปยังอินเดีย เป็นการเพิ่มโอกาสช่องทางทางการค้า และกระจายความเสี่ยงจากการที่ผูกขาดโดยการส่งออกไปที่ประเทศใดประเทศหนึ่ง
  4. การเข้าถึงทรัพยากรอื่น ๆ จากการได้ส่งออกไปยังประเทศอินเดีย จะทำให้มีโอกาสขยับขยายจากผู้ส่งออก ไปสู่การเป็นคู่ค้า และสามารถเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ ของอินเดียได้ ไม่ว่าจะเป็นด้านวัตถุดิบ หรือด้านแรงงาน


5 เรื่องที่ต้องเตรียมตัวไว้ ถ้าจะไปบุกตลาดอินเดีย

  1. ทำความเข้าใจกฎหมาย ภาษี และข้อกำหนดต่าง ๆ ซึ่งสำหรับผู้ส่งออกการทำความเข้าใจกฎหมาย และเริ่มต้นอย่างถูกต้องตั้งแต่แรกจะเป็นแต้มต่อให้การประกอบธุรกิจสามารถทำธุรกิจอย่างต่อเนื่องได้อย่างไร้ข้อสะดุด
  2. ศึกษาวัฒนธรรม การเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะสร้างความเข้าใจในความต้องการของลูกค้า และสามารถปรับปรุงสินค้าบริการและวางแผนต่าง ๆ ได้อย่างตรงจุด
  3. พัฒนาสินค้าและบริการที่เหมาะกับอินเดีย โดยอินเดียมีวัฒนธรรมและลักษณะทางเชื้อชาติที่แตกต่างจากตลาดในไทย สินค้าและบริการที่จะบุกตลาดอินเดีย จึงต้องปรับปรุงให้เหมาะสม เช่น เครื่องสำอางต้องมีเฉดสีที่เหมาะสมกับผิวพรรณ การแต่งกายที่เป็นที่นิยมของชาวอินเดีย หรืออาหารที่อินเดียเป็นตลาดใหญ่สำหรับสินค้าฮาลาล ดังนั้นจึงต้องปรับปรุงให้ทั้งปริมาณ รสชาติ รวมถึงฮาลาบด้วย เพื่อให้เหมาะสมและอยู่ในตลาดอินเดียได้
  4. สร้างพันธมิตรกับธุรกิจในท้องถิ่น ส่วนนี้จะเป็นข้อได้เปรียบหากธุรกิจสามารถหาพันธมิตรทางธุรกิจที่อยู่ในท้องถิ่นได้ จะทำให้การดำเนินการราบรื่นขึ้น ทั้งในด้านของการเรียนรู้วัฒนธรรม รสนิยม กฎหมาย และแนวโน้มต่าง ๆ ในตลาดอินเดีย ทำให้สามารถจัดการกับแผนการตลาดได้อย่างตรงจุดขึ้น รวมถึงยังมีโอกาสได้เปรียบเรื่องการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรต่าง ๆ อีกด้วย
  5. พัฒนารูปแบบการตลาด การทำตลาดในแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้น จึงต้องวางแผนให้เหมาะกับประเทศนั้น ๆ ซึ่งการปรับตัวทางการตลาดนั้นจะได้เปรียบเมื่อหากสามารถเข้าใจตลาดในอินเดียเป็นอย่างดี

เตรียมความพร้อมผู้ส่งออกไทย สู่โอกาสใหม่ในอินเดีย 5 เรื่องที่ต้องเตรียมตัวไว้ ก่อนไปบุกตลาดอินเดีย finbiz by ttb


เครื่องมือทางการเงินที่จะช่วยสร้างสถานการณ์ที่ได้เปรียบสำหรับการค้าต่างประเทศ

ในการทำการค้ากับต่างประเทศความเสี่ยงหนึ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องเผชิญก็คือความเสี่ยงด้านความผัวผวนของสกุลเงิน finbiz by ttb ของแนะนำเครื่องมือทางการเงินในการปิดความเสี่ยงนี้ ttb multi-currency account บัญชีสำหรับบริหารหลายสกุลเงิน ทีทีบี บัญชีที่สามารถบริหารจัดการหลายสกุลเงินในบัญชีเดียว ไม่ว่าจะเป็นการโอนเงิน การแลกเปลี่ยนเงิน และการเรียกดูรายการเดินบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Statement) ที่สะดวก ง่าย และรวดเร็ว ทำได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง ทีทีบี บิสสิเนสวัน พร้อมรับดอกเบี้ยเงินฝากทันที เมื่อมีรายการโอนเงินเข้าบัญชี ตอบทุกโจทย์ของการนำเข้า-ส่งออกและลดปัญหาค่าเงินที่ผันผวน ด้วยการค้าขายด้วยสกุลเงินท้องถิ่น โดยใช้บัญชีบริหารหลายสกุลเงิน พร้อมยกระดับธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ สู่ประสบการณ์ดิจิทัลเต็มรูปแบบ ซึ่งเครื่องมือทางธนาคารที่ดีจะช่วยปิดความเสี่ยงลงได้ ซึ่งก็นับว่าเป็นเรื่องที่ดีกว่าในยุคก่อน ๆ ธนาคารแนะนำให้กระจายการใช้หลายสกุลเงินโดยเฉพาะสกุลเงินท้องถิ่นเพื่อช่วยลดต้นทุนจากความผันผวนของดอลลาร์สหรัฐ


ที่มา :

  • ttb analytics

finbiz by ttb

โครงการเสริมความรู้สู่การเป็น Smart SME ผ่านหลากหลายแพลตฟอร์ม
พร้อมองค์ความรู้ ที่ครบครัน จาก Partner ชั้นนำทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน
เพื่อให้ธุรกิจสามารถก้าวผ่านความท้าทายของโลกปัจจุบัน
ปรับตัวตอบโจทย์ยุคดิจิทัล พร้อมมุ่งสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน


อัปเดตทุกดิจิทัลเทรนด์ และความรู้ดี ๆ ที่ SME ไม่ควรพลาด
เพียงแอดไลน์ @ttbSME


ผลิตภัณฑ์แนะนำ

สินเชื่อธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอี สมาร์ทบิส

บัญชีธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอีวันแบงก์

บริการจ่ายเงินเดือน และดูแลสวัสดิการพนักงาน ทีทีบี เพย์โรลพลัส

ธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ สำหรับ SME


หน้าหลัก finbiz


ศูนย์บริการลูกค้าธุรกิจ ทีทีบี 0 2643 7000


ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ ทีทีบี


finbiz team


คลิก รับข่าวสารทางไลน์

การใช้และจัดการคุกกี้

ธนาคารใช้คุกกี้ 3 ประเภท คือ 1) จำเป็นต่อการใช้งานของเว็บไซต์ 2) เพื่อประสบการณ์ที่ดีของท่าน และ 3) เพื่อการวิเคราะห์วิจัย โดยการใช้คุกกี้จะไม่สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้ ท่านสามารถกดปุ่ม “อนุญาต” ให้ธนาคารเก็บคุกกี้การใช้งานของท่านในการกำหนดเป้าหมายทางการตลาดเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอสิทธิประโยชน์ที่ตรงความต้องการของท่านมากที่สุด โปรดอ่านรายละเอียด นโยบายการใช้คุกกี้ ของธนาคาร

เกี่ยวกับ ทีทีบี

  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • โครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการและผู้บริหาร
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ห้องข่าว

ติดต่อธนาคาร

  • ติดต่อธนาคาร
  • ร่วมงานกับเรา
  • ค้นหาสาขา
  • รายงานเบาะแสการทุจริต
  • บริการอื่น ๆ
  • รายงานและการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการ

เว็บไซต์อื่นที่เกี่ยวข้องกับธนาคาร

  • ttb business click
  • ttb business one
  • ttb consumer
  • ttb DRIVE app
  • ttb property


  • ttb spark
  • ttb supply chain solutions
  • ttb web fleet service
  • fai-fah by ttb
  • Punboon by ttb
  • Eastspring Asset Management

ติดตามข่าวสาร

  • social-media-fb-logo
  • social-media-line-logo
  • social-media-tiktok-logo
  • social-media-twitter-logo
  • social-media-linkedin-logo

สำนักงานใหญ่

  • 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ติดตามข่าวสาร
  • fb-icon
  • line-icon
  • tiktok-icon
  • twitter-icon
  • linkedin-icon
  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • โครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการและผู้บริหาร
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ห้องข่าว
  • ติดต่อธนาคาร
  • ร่วมงานกับเรา
  • ค้นหาสาขา
  • รายงานเบาะแสการทุจริต
  • บริการอื่น ๆ
  • รายงานและการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการ
  • ttb business click
  • ttb business one
  • ttb consumer
  • ttb DRIVE app
  • ttb property
  • ttb spark
  • ttb supply chain solutions
  • ttb web fleet service
  • fai-fah by ttb
  • Punboon by ttb
  • Eastspring Asset Management
© สงวนลิขสิทธิ์ 2568 ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)
นโยบายความเป็นส่วนตัวลูกค้า
กลับสู่ด้านบน