external-popup-close

คุณกำลังออกจากเว็บไซต์ ทีทีบี
เพื่อเข้าสู่

https://www.ttbbank.com/

ตกลง

Suggest Keywords

  • ห้องข่าว
  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • ความยั่งยืน
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อธนาคาร
ttb-logo
เมนู
  • ลูกค้าบุคคล
  • ลูกค้าเอสเอ็มอี
  • ลูกค้าธุรกิจ
  • ทีทีบี รีเซิร์ฟ
  • โปรโมชันและสิทธิพิเศษ
  • อัตราและค่าธรรมเนียม
  • ค้นหา
  • เข้าสู่ระบบ ttb business
    ttb business onettb business click
  • สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
  • บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
  • บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
  • ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
  • finbiz เสริมความรู้ SME
  • สนใจสมัครผลิตภัณฑ์
ค้นหาจุดให้บริการ
หน้าหลัก ทีทีบี
ลูกค้าบุคคล
หน้าหลักลูกค้าบุคคล
เคล็ดลับการเงิน
บัญชีและบัตรเดบิต
บัตรเครดิต
สินเชื่อ
ประกัน
ลงทุน
บัญชีเงินเดือน ทีทีบี
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง
บริการอื่น ๆ
ลูกค้าเอสเอ็มอี
หน้าหลักลูกค้าเอสเอ็มอี นิติบุคคล
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
finbiz เสริมความรู้ SME
สนใจสมัครผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ลูกค้าเอสเอ็มอี บุคคลธรรมดา
เข้าสู่ระบบ
ttb business one
ttb business click
ลูกค้าธุรกิจ
หน้าหลักลูกค้าธุรกิจ
สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
บัญชีและธุรกรรมภายในประเทศ
บัญชีและธุรกรรมระหว่างประเทศ
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง และบริการอื่นๆ
เข้าสู่ระบบ
ttb business one
ttb business click
ทีทีบี รีเซิร์ฟ
หน้าหลักทีทีบี รีเซิร์ฟ
เอกสิทธิ์พิเศษ
โปรโมชันพิเศษ
อัปเดตการลงทุน
โซลูชันการลงทุนและสกุลเงินต่างประเทศ
โปรโมชันและสิทธิพิเศษ
หน้าหลักโปรโมชันและสิทธิพิเศษ
บัญชี
บัตรเดบิต
บัตรเครดิต
สินเชื่อ
ประกัน
ลงทุน
บัญชีเงินเดือน ทีทีบี
ทีทีบี รีเซิร์ฟ
ttb rewards plus
อัตราและค่าธรรมเนียม
บัญชีเงินฝากและบริการที่เกี่ยวข้อง
สินเชื่อและบริการเงินกู้
บริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
Forward Points
ห้องข่าว
หน้าหลักห้องข่าว
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวลูกค้าธุรกิจ
ข่าวศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
เกี่ยวกับ ทีทีบี
หน้าหลักเกี่ยวกับ ทีทีบี
รู้จัก ทีทีบี
ประวัติธนาคาร
ลักษณะประกอบธุรกิจ
โครงสร้างและการจัดการ
บรรษัทภิบาล
การบริหารความเสี่ยง
ข้อตกลงการใช้เว็บไซต์
ความยั่งยืน
หน้าหลักความยั่งยืน
แนวทางความยั่งยืน
ความยั่งยืนทางธุรกิจ
ความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
ความยั่งยืนด้านสังคม
บรรษัทภิบาลและจริยธรรมทางธุรกิจ
นโยบายและการรายงาน
นักลงทุนสัมพันธ์
หน้าหลักนักลงทุนสัมพันธ์
ข้อมูลทางด้านการเงิน
ข้อมูลนำเสนอ
ข้อมูลหลักทรัพย์
ข้อมูลตราสารหนี้และอันดับความน่าเชื่อถือ
ข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์และนักลงทุน
บริการผู้ถือหุ้น
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
ร่วมงานกับเรา
หน้าหลักร่วมงานกับเรา
เหตุผลที่ควรร่วมงานกับ ttb
เราทำงานกันอย่างไร
ติดต่อเรา
นโยบายความเป็นส่วนตัวผู้สมัครงาน
ตำแหน่งที่เปิดรับสมัคร
ติดต่อธนาคาร

กลยุทธ์สำคัญ SME รับมือต้นทุนที่สูงขึ้นอย่างไร

11 มี.ค. 2565

ในสถานการณ์ปัจจุบันที่เอสเอ็มอีต้องเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้อ ทำให้ต้นทุนสูงขึ้น ท่ามกลางกระแสเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวแบบไม่สมดุล finbiz by ttb จึงขอนำเสนอข้อมูลและแนวทางจากศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics เพื่อให้ผู้ประกอบการ SME ได้เห็นทิศทางการฟื้นตัว พร้อมทั้งกลยุทธ์ในการรักษาตลาดเดิมให้คงไว้ และบุกการเปิดตลาดใหม่เพิ่มรายได้ โดยยังสามารถควบคุมต้นทุนให้ทำกำไรได้ต่อไป และก้าวผ่านสถานการณ์นี้ไปได้อย่างราบรื่น

เราจะแบ่งภาคธุรกิจเป็น 3 ภาค ได้แก่ ภาคผลิต ภาคการค้า และภาคการบริการ และเทียบการฟื้นตัวกับช่วงเวลาก่อนโควิด-19 หรือในช่วงปลายปี 2019 โดยในช่วงปลายปี 2019 เป็น 100%


ข้อมูลจากศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics พบว่า

  • ภาคผลิตฟื้นตัวใกล้ระดับเดิมที่ 99% จากนโยบายผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด การเปิดประเทศ รวมถึงภาคส่งออกที่กลับมาเติบโตได้ต่อเนื่อง และมีทิศทางการเติบโตในปี 2022 เพิ่มขึ้น 4-6% ในขณะที่มีโครงสร้างต้นทุนจากวัตถุดิบ 82% และ ค่าดำเนินการ 7%
  • ภาคการค้าปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศแตะระดับ 95% และมีทิศทางการเติบโตในปี 2022 เพิ่มขึ้น 5-8% ในขณะที่มีโครงสร้างต้นทุนจากวัตถุดิบ 76% และ ค่าดำเนินการ 13%
  • ภาคบริการฟื้นตัวที่ระดับ 70% เทียบก่อนโควิด และมีทิศทางการเติบโตในปี 2022 เพิ่มขึ้น 5-10% ในขณะที่มีโครงสร้างต้นทุนจากวัตถุดิบ 70% และ ค่าดำเนินการ 18%


ทั้งนี้ปี 2022 มีปัจจัยกดดันจากการแพร่ระบาดจากโรคโควิด-19 “สายพันธุ์โอมิครอน” และต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง วัตถุดิบการเกษตร ซึ่งส่งผลกระทบอย่างหนักกับผู้ประกอบการ SME โดยเฉพาะกลุ่มรายย่อยลงไปที่มีความเข้มแข็งทางการเงินต่ำ ให้เร่งปรับตัวเพื่อรับมือสถานการณ์


ดังนั้นด้วยทิศทางการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและและโครงสร้างต้นทุนที่ไม่เหมือนกันในแต่ละประเภทธุรกิจ กลยุทธ์ที่นำมาใช้จึงต่างกันไปตามการฟื้นตัวและของธรรมชาติของธุรกิจเพื่อช่วยให้ก้าวผ่านสถานการณ์เศรษฐกิจในปีนี้ได้อย่างเหมาะสม

การฟื้นตัวโครงสร้างค้นทุน และแนวทางปรับกลยุทธ์ของแต่ละภาคธุรกิจ


ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics ได้แนะกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับแต่ละภาคธุรกิจ ดังนี้

  • ภาคการผลิต มีแนวโน้มกลับมาเติบโตต่อเนื่อง โดยมีโครงสร้างต้นทุนส่วนใหญ่เป็นด้านวัตถุดิบ จึงควรปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มช่องทางขายบน Platform Online เพิ่มจุดผลิต จุดกระจายสินค้าเพื่อครอบคลุมพื้นที่ขายให้เพิ่มมากขึ้น หรือเพิ่มช่องทางตลาดใหม่ ๆ

    ส่วนระยะต่อไป ควรให้ความสำคัญด้านต้นทุนมากขึ้น โดยปรับปรุงกระบวนการผลิตและบริหารจัดการการผลิตให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงนำเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

  • ภาคการค้า ที่มีทิศทางการฟื้นตัวชัดเจนและเติบโตต่อเนื่อง แต่ด้วยโครงสร้างต้นทุนดำเนินงานมีสัดส่วนสูงกว่าภาคการผลิต ภาคการค้าจึงสามารถเน้นลดต้นทุนในส่วนดำเนินงานได้ง่ายกว่า เช่น ลดการทำงานซ้ำซ้อน คุมสต็อกสินค้าให้มีปริมาณเหมาะสมเพื่อลดการสูญเสียหรือล้าสมัย รวมถึงใช้บริการพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญ เช่น บริการขนส่งที่ช่วยลดต้นทุนค่าแรงและค่าพลังงานได้บางส่วน พร้อมกับการเพิ่มช่องทางรายได้จากการขายเพิ่มเติม ด้วยการพึ่งพากำลังซื้อของผู้บริโภคที่เริ่มฟื้นตัว และอาจหาช่องทางรายได้ใหม่ จากตลาดที่เปิดกว้างบนพื้นที่ Online ที่ต้นทุนต่ำกว่าการขายหน้าร้าน

  • ภาคบริการ แนวโน้มการฟื้นตัวดีขึ้นด้วยกำลังซื้อในประเทศ ในขณะที่กำลังซื้อต่างชาติมีโอกาสหลังเปิดประเทศมากขึ้น
    โดยกลุ่มภาคบริการควรให้ความสำคัญกับการลดต้นทุน โดยเฉพาะด้านการดำเนินงาน เนื่องจากมีสัดส่วนที่สูงกว่าภาคอื่น ๆ โดยเริ่มจากการลดหรือรวมกระบวนการทำงานที่ซ้ำซ้อน เพื่อลดต้นทุนที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กับกิจการ การเพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจจากการเพิ่มทักษะฝีมือ รวมถึงใช้ประโยชน์จากข้อมูลและเทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนบางส่วน
    และในระยะถัดไปเมื่อพบสัญญาณการฟื้นตัวที่ชัดเจนขึ้น ธุรกิจควรเร่งด้านช่องทางรายได้เพิ่มเติมโดยการหาเครือข่ายพันธมิตรเพื่อเพิ่มฐานลูกค้า หรือเพิ่มรูปแบบงานบริการที่ใกล้เคียงกับธุรกิจเดิมเป็นฐานรายได้ใหม่ เพื่อรักษาพื้นที่กำไรเพิ่มในระยะถัดไป


จากทิศทางต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นและแนวโน้มการฟื้นตัวที่แตกต่างกันในแต่ภาคธุรกิจ เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ SME สามารถกำหนดกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของตนเอง เพื่อที่จะได้บริหารต้นทุนและจัดการช่องทางการตลาด เพื่อนำไปสู่ผลประกอบการที่ยังดำเนินต่อไปได้


สภาพคล่องเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น

ด้วยปัญหาเงินเฟ้อยิ่งทำให้ต้นทุนสูงขึ้น ผู้ประกอบการ SME ที่มีสภาพคล่องย่อมได้เปรียบ แม้ว่าการปรับกลยุทธ์แนะนำว่าจะต้องลดต้นทุน แต่จากประสบการณ์ของผู้ประกอบการ SME ที่ finbiz by ttb ได้รวบรวมมาพบว่า สิ่งสำคัญที่จะทำให้ธุรกิจก้าวข้ามผ่านสถานการณ์ต่าง ๆ ไปได้ คือการมีสภาพคล่อง finbiz by ttb จึงขอนำเสนอ สินเชื่อธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอี สมาร์ท แอนด์ ฟาส (ttb sme smart and FAST) ที่จะช่วยเข้ามาเสริมสภาพคล่องของธุรกิจ


สินเชื่อธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอี สมาร์ท แอนด์ ฟาส (ttb sme smart and FAST) มีจุดเด่นที่

  • อนุมัติไว รู้ผลได้เร็วสุดภายใน 7 วัน
  • วงเงินเพียงพอ สูงสุด 10 ล้านบาท
    • วงเงินสินเชื่อเบิกเกินบัญชี (O/D)
    • วงเงินกู้ระยะยาว (Long Term Loan) เพื่อการลงทุนในกิจการ
  • ผ่อนชำระนาน สูงสุดถึง 12 ปี
  • สะดวก เพราะ
    • สามารถดูยอดวงเงินผ่านอินเทอร์เน็ตหรือโมบายแบงก์กิ้ง ได้ทุกเวลา
    • เมื่อได้วงเงินแล้ว โอนฟรี ผ่าน ttb business one คู่กับบัญชีธุรกิจ ttb sme one bank

สนใจสินเชื่อธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอี สมาร์ท แอนด์ ฟาส (ttb sme smart and FAST) อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่


ที่มา :
  - ttb analytics
  - ประชาชาติธุรกิจ


finbiz by ttb โครงการเสริมความรู้ ต่อยอด เอสเอ็มอี สู่การเป็น Smart SME

ผ่านหลากหลายแพลตฟอร์ม พร้อมองค์ความรู้ที่ครบครัน จาก Partner ชั้นนำทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อให้ธุรกิจรับมือกับความเปลี่ยนแปลง พร้อมปรับตัวในยุคดิจิทัล และเติบโตอย่างยั่งยืน

“ครบ จบในที่เดียว ปรับใช้ได้ง่าย ต่อยอดได้จริง สู่การเป็น Smart SME”


ผลิตภัณฑ์แนะนำ

สินเชื่อธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอี สมาร์ทบิส

บัญชีธุรกิจ ทีทีบี เอสเอ็มอีวันแบงก์

โซลูชันเพื่อองค์กรและสวัสดิการพนักงานแบบครบวงจร จาก ทีทีบี

ธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ สำหรับ SME


หน้าหลัก finbiz


ศูนย์บริการลูกค้าธุรกิจ ทีทีบี 0 2643 7000


ศูนย์ธุรกิจต่างประเทศ ทีทีบี


finbiz team


คลิก รับข่าวสารทางไลน์

การใช้และจัดการคุกกี้

ธนาคารใช้คุกกี้ 3 ประเภท คือ 1) จำเป็นต่อการใช้งานของเว็บไซต์ 2) เพื่อประสบการณ์ที่ดีของท่าน และ 3) เพื่อการวิเคราะห์วิจัย โดยการใช้คุกกี้จะไม่สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้งานได้ ท่านสามารถกดปุ่ม “อนุญาต” ให้ธนาคารเก็บคุกกี้การใช้งานของท่านในการกำหนดเป้าหมายทางการตลาดเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอสิทธิประโยชน์ที่ตรงความต้องการของท่านมากที่สุด โปรดอ่านรายละเอียด นโยบายการใช้คุกกี้ ของธนาคาร

เกี่ยวกับ ทีทีบี

  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • โครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการและผู้บริหาร
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ห้องข่าว

ติดต่อธนาคาร

  • ติดต่อธนาคาร
  • ร่วมงานกับเรา
  • ค้นหาสาขา
  • รายงานเบาะแสการทุจริต
  • บริการอื่น ๆ
  • รายงานและการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการ

เว็บไซต์อื่นที่เกี่ยวข้องกับธนาคาร

  • ttb business click
  • ttb business one
  • ttb consumer
  • ttb DRIVE app
  • ttb property


  • ttb spark
  • ttb supply chain solutions
  • ttb web fleet service
  • fai-fah by ttb
  • Punboon by ttb
  • Eastspring Asset Management

ติดตามข่าวสาร

  • social-media-fb-logo
  • social-media-line-logo
  • social-media-tiktok-logo
  • social-media-twitter-logo
  • social-media-linkedin-logo

สำนักงานใหญ่

  • 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ติดตามข่าวสาร
  • fb-icon
  • line-icon
  • tiktok-icon
  • twitter-icon
  • linkedin-icon
  • เกี่ยวกับ ทีทีบี
  • โครงสร้างองค์กร
  • คณะกรรมการและผู้บริหาร
  • ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ
  • ห้องข่าว
  • ติดต่อธนาคาร
  • ร่วมงานกับเรา
  • ค้นหาสาขา
  • รายงานเบาะแสการทุจริต
  • บริการอื่น ๆ
  • รายงานและการเปิดเผยข้อมูลคุณภาพการให้บริการ
  • ttb business click
  • ttb business one
  • ttb consumer
  • ttb DRIVE app
  • ttb property
  • ttb spark
  • ttb supply chain solutions
  • ttb web fleet service
  • fai-fah by ttb
  • Punboon by ttb
  • Eastspring Asset Management
© สงวนลิขสิทธิ์ 2568 ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน)
นโยบายความเป็นส่วนตัวลูกค้า
กลับสู่ด้านบน